โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายณฐกรย่องจีน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งบ่อนทำลายทรัพยากรและความมั่่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปรามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนต่อการดำเนินการจำเป็นต้องวางแผนสำหรับบดำเนินงานในแต่ละด้านอย่างรอบคอบ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยอย่างเดียวเท่านั้นประเทศอื่นๆ ก็ได้มีความพยายามที่จะยับยั้งการเสพการซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่ตลอดเวลา จากการศึกษาของ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) พ.ศ. 2536 ได้ประมาณการผู้ใช้สารเสพติดใน 5 ประเภท ได้แก่ สารระเหย กัญชา เฮโรอีน และฝิ่น โดยแยกประชากรที่ศึกษาเป็นกลุ่มย่อย ซึ่งมีความเสี่ยงสูงต่อการใช้ยาเสพติดไว้ 16 กลุ่ม มีผู้ใช้สารเสพติดทุกกลุ่มรวม 1,2677,590 คน หรือร้อยละ 2.17 ของประชากรทั้งหมด ในจำนวนนี้ประมาณการได้ว่า มีกลุ่มวัยเรียน และเยาวชนอายุระหว่าง 15-25 ปี ซึ่งประกอบด้วยนักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษาต่างๆ ใช้ยาเสพติดจำนวน 71,666 คน คิดเป็นร้อยละ 8.13 ของกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดครั้งแรก เมื่ออายุน้อยกว่า 10 ปี และเยาวชนวัยเรียนกลุ่มอายุ 145-19ปี ทั้งในและนอกระบบสถาานศึกษา เป็นกลุ่มที่มีปัญหาเริิ่มใช้สารเสพติดครั้งแรก สูงสุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอายุอื่นๆ (ร้อยละ 53.1) และอัตราการใช้สารเสพติดครั้งแรกของกลุ่มนี้จะสูงสุดอย่างต่อเนื่องและเพิ่มขึ้นทุกปี เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี พ.ศ.2536-2538 ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีในกรุงเทพมหานครมากที่สุด คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 60.1 รองลงมาเป็นภาคใต้ และภาคกลาง สำหรับภาคเหนือมีเยาวชนวัยเรียน กลุ่มอายุ 15-19 ปี ที่เริิ่มใช้สารเสพติดครั้งแรก ตำ่สุดเท่ากับร้อยละ 39.95
ปัจจุบันนี้เยาวชนไทยที่มีอายุน้อยมีสถิติการติดยาเสพติดเพิ่มขึ้น ซึ่งนับว่าเป็นการสูญเสียทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง เพราะนอกจากผู้เสพยาเสพติดทั้งหลายนี้ จะได้สามารถประกอบอาชีพทำการงานต่างๆ ไม่ได้แล้วยังก่ออาชญากรรมทำให้เกิดปัญหาต่อสังคมกระทบกระเทือนต่อประชาชนผู้ไม่ได้เสพยาเสพติด อีกด้วยอีกสาเหตุการติดยาเสพติดในปัจจุบันมีหลายสาเหตุ เช่น การหาซื้อยาไปกินเองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์เมื่อกินบ่อยๆ ก็จะทำให้ติดได้ ครอบครัวที่พ่อแม่ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลานเพราะต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้าน ทำให้บุตรหลานไปคบเพื่อนนอกบ้าน อาจจะมีเพื่อนที่ชักนำไปดสพสิ่งเสพติด หรือถูกหลอกลวงไปในทางที่ผิด หรือแม้แต่พ่อแม่หย่าร้างกัน ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้บุตรหลานไปเสพยาเสพติดได้ การที่จะให้เด็กแลละเยาวชนห่างไกลยาเสพติดนั้น จำเป็นจะต้องแก้ไขปัญหาพื้นฐานที่เป็นสาเหตุของการนำไปสู่การใช้สารเสพติด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวและชุมชน พร้อมๆ กับการให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดเพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักและกลัว รวมทั้งส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มต่างๆ เพื่อลดเวลาว่้่างและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ปัญหาเด็กติดยยาเสพติดก็จะไม่เกิดขึ้น
ชมรม To be number one ตำบลบ้านควน จัดทำโครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยยจากยาเสพติด โดยมุ่งเน้นให้เด็กที่เข้าร่วมโครงการได้รู้ถึงพิษภัย และรู้ถึงวิธีที่จะหลีกหนีให้ห่างไกลจากยาเสพติดทั้งหลาย เพื่อจะได้นำความรู้ที่ได้รับไปเป็นแนวทางในการป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจากยาเสพติดต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษ
- เพื่อให้เยาวชนอายุ 6-24 ปี ทุกคนเรียนรู้ TO BE NUMBER ONE IDOL เสริมทักษะการปฏิเสธยาเสพติด และเเข้าใจเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ร่วมรณรงค์ป้องกันและต่อต้านยาเสพติดในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักเรื่องยาเสพติดและอบายมุข
- เด็กและเยาวชนเป็นสมาชิกชมรม To be number one และมีกิจกรรมต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
จากแบบลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม
- กลุ่มชมรมของเยาวชนในชมรม TO BE NUMBER ONE ในตำบลบ้านควน เข้าร่วมจำนวน 50 คน
- กลุ่มเยาวชนอายุ 6-24 ปี (สมาชิกใหม่ TO BE NUMBER ONE) ในตำบลบ้านควน จำนวน 50 คน รวมเข้าร่วม 100 คน
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
- ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้เยาวชนอายุ 6-24 ปี ทุกคนเรียนรู้ TO BE NUMBER ONE IDOL เสริมทักษะการปฏิเสธยาเสพติด และเเข้าใจเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ร่วมรณรงค์ป้องกันและต่อต้านยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษ (2) เพื่อให้เยาวชนอายุ 6-24 ปี ทุกคนเรียนรู้ TO BE NUMBER ONE IDOL เสริมทักษะการปฏิเสธยาเสพติด และเเข้าใจเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ร่วมรณรงค์ป้องกันและต่อต้านยาเสพติดในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายณฐกรย่องจีน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายณฐกรย่องจีน
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งบ่อนทำลายทรัพยากรและความมั่่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปรามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนต่อการดำเนินการจำเป็นต้องวางแผนสำหรับบดำเนินงานในแต่ละด้านอย่างรอบคอบ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยอย่างเดียวเท่านั้นประเทศอื่นๆ ก็ได้มีความพยายามที่จะยับยั้งการเสพการซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่ตลอดเวลา จากการศึกษาของ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) พ.ศ. 2536 ได้ประมาณการผู้ใช้สารเสพติดใน 5 ประเภท ได้แก่ สารระเหย กัญชา เฮโรอีน และฝิ่น โดยแยกประชากรที่ศึกษาเป็นกลุ่มย่อย ซึ่งมีความเสี่ยงสูงต่อการใช้ยาเสพติดไว้ 16 กลุ่ม มีผู้ใช้สารเสพติดทุกกลุ่มรวม 1,2677,590 คน หรือร้อยละ 2.17 ของประชากรทั้งหมด ในจำนวนนี้ประมาณการได้ว่า มีกลุ่มวัยเรียน และเยาวชนอายุระหว่าง 15-25 ปี ซึ่งประกอบด้วยนักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษาต่างๆ ใช้ยาเสพติดจำนวน 71,666 คน คิดเป็นร้อยละ 8.13 ของกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดครั้งแรก เมื่ออายุน้อยกว่า 10 ปี และเยาวชนวัยเรียนกลุ่มอายุ 145-19ปี ทั้งในและนอกระบบสถาานศึกษา เป็นกลุ่มที่มีปัญหาเริิ่มใช้สารเสพติดครั้งแรก สูงสุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอายุอื่นๆ (ร้อยละ 53.1) และอัตราการใช้สารเสพติดครั้งแรกของกลุ่มนี้จะสูงสุดอย่างต่อเนื่องและเพิ่มขึ้นทุกปี เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี พ.ศ.2536-2538 ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีในกรุงเทพมหานครมากที่สุด คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 60.1 รองลงมาเป็นภาคใต้ และภาคกลาง สำหรับภาคเหนือมีเยาวชนวัยเรียน กลุ่มอายุ 15-19 ปี ที่เริิ่มใช้สารเสพติดครั้งแรก ตำ่สุดเท่ากับร้อยละ 39.95 ปัจจุบันนี้เยาวชนไทยที่มีอายุน้อยมีสถิติการติดยาเสพติดเพิ่มขึ้น ซึ่งนับว่าเป็นการสูญเสียทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง เพราะนอกจากผู้เสพยาเสพติดทั้งหลายนี้ จะได้สามารถประกอบอาชีพทำการงานต่างๆ ไม่ได้แล้วยังก่ออาชญากรรมทำให้เกิดปัญหาต่อสังคมกระทบกระเทือนต่อประชาชนผู้ไม่ได้เสพยาเสพติด อีกด้วยอีกสาเหตุการติดยาเสพติดในปัจจุบันมีหลายสาเหตุ เช่น การหาซื้อยาไปกินเองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์เมื่อกินบ่อยๆ ก็จะทำให้ติดได้ ครอบครัวที่พ่อแม่ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลานเพราะต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้าน ทำให้บุตรหลานไปคบเพื่อนนอกบ้าน อาจจะมีเพื่อนที่ชักนำไปดสพสิ่งเสพติด หรือถูกหลอกลวงไปในทางที่ผิด หรือแม้แต่พ่อแม่หย่าร้างกัน ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้บุตรหลานไปเสพยาเสพติดได้ การที่จะให้เด็กแลละเยาวชนห่างไกลยาเสพติดนั้น จำเป็นจะต้องแก้ไขปัญหาพื้นฐานที่เป็นสาเหตุของการนำไปสู่การใช้สารเสพติด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวและชุมชน พร้อมๆ กับการให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติดเพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักและกลัว รวมทั้งส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มต่างๆ เพื่อลดเวลาว่้่างและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ปัญหาเด็กติดยยาเสพติดก็จะไม่เกิดขึ้น ชมรม To be number one ตำบลบ้านควน จัดทำโครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยยจากยาเสพติด โดยมุ่งเน้นให้เด็กที่เข้าร่วมโครงการได้รู้ถึงพิษภัย และรู้ถึงวิธีที่จะหลีกหนีให้ห่างไกลจากยาเสพติดทั้งหลาย เพื่อจะได้นำความรู้ที่ได้รับไปเป็นแนวทางในการป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจากยาเสพติดต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษ
- เพื่อให้เยาวชนอายุ 6-24 ปี ทุกคนเรียนรู้ TO BE NUMBER ONE IDOL เสริมทักษะการปฏิเสธยาเสพติด และเเข้าใจเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ร่วมรณรงค์ป้องกันและต่อต้านยาเสพติดในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักเรื่องยาเสพติดและอบายมุข
- เด็กและเยาวชนเป็นสมาชิกชมรม To be number one และมีกิจกรรมต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน จากแบบลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม
- กลุ่มชมรมของเยาวชนในชมรม TO BE NUMBER ONE ในตำบลบ้านควน เข้าร่วมจำนวน 50 คน - กลุ่มเยาวชนอายุ 6-24 ปี (สมาชิกใหม่ TO BE NUMBER ONE) ในตำบลบ้านควน จำนวน 50 คน รวมเข้าร่วม 100 คน
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
- ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้เยาวชนอายุ 6-24 ปี ทุกคนเรียนรู้ TO BE NUMBER ONE IDOL เสริมทักษะการปฏิเสธยาเสพติด และเเข้าใจเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ร่วมรณรงค์ป้องกันและต่อต้านยาเสพติดในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษ (2) เพื่อให้เยาวชนอายุ 6-24 ปี ทุกคนเรียนรู้ TO BE NUMBER ONE IDOL เสริมทักษะการปฏิเสธยาเสพติด และเเข้าใจเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ร่วมรณรงค์ป้องกันและต่อต้านยาเสพติดในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตเยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติดตำบลบ้านควน ประจำปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายณฐกรย่องจีน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......