กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนหรือเริ่มอ้วน ”
โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายอนุวัช แก้วสว่าง




ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนหรือเริ่มอ้วน

ที่อยู่ โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L8020-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนหรือเริ่มอ้วน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนหรือเริ่มอ้วน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนหรือเริ่มอ้วน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L8020-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อแบบแผนการบริโภคอาหารของครอบครัว และเด็กวัยเรียนเป็นอย่างมากการบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีพ ทำให้เกิดการบริโภคอาหารประเภทจานด่วน อาหารสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทโดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งการติดเกมส์ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวและออกกำลังกายน้อยลง องค์ประกอบเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคอ้วนอันตรายของโรคอ้วนในเด็กซึ่งโรคอ้วนในเด็กกำลังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทย จากข้อมูลระบบ HealthData Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ปี ๒๕๕8 เด็กวัยเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ ๑๑.๔ และปี ๒๕๕9 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๑๒.๕ เด็กวัยเรียนที่มีภาวะอ้วนมีโอกาสเป็นโรคร้ายแรงอื่นๆได้มากกว่าปกติ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ข้ออักเสบ ขาโก่ง รวมทั้งสมาธิสั้น นอกจากนี้ในกรณีที่เด็กที่ป่วยด้วยโรคอ้วนขั้นรุนแรง มีผลกระทบต่อทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คือทำให้เกิดกลุ่มอาการ Pickwickian Syndrome ส่งผลขัดขวางต่อการเรียนหนังสือ ทำให้ง่วงนอนทุกครั้งที่นั่งเรียน เนื่องจากโรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พบว่าสถานการณ์แนวโน้มของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนของเด็กนักเรียน ในปี ๒๕๕๙ ร้อยละ 14.64 และปี ๒๕๖๐ ร้อยละ 15.48 ซึ่งอัตราของภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียนของโรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา สูงกว่าเกณฑ์เป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ ๑๐ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ได้เห็นความสำคัญของปัญหาภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนในเด็กนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ อ้วนและเริ่มอ้วน เพื่อให้เด็กเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพการดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ
  2. เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง
  3. นักเรียนกลุ่มเสี่ยง และผู้ปกครองได้รับการฝึกอบรมให้ความรู้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ออกกำลังกาย)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 323
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 366
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กนักเรียน อายุ 5-14 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง 2. นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนมีภาวะโภชนาการที่ลดลง
3. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ

วันที่ 11 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จากกิจกรรมการ“คัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง” จำนวนนักเรียนทั้งหมด 614 คน สามารถรวบรวมข้อมูลจากการคัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง โดยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ หาค่าสถิติพื้นฐานของ โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ปีการศึกษา 256๑ พบว่า นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนมีอัตรา ร้อยละ ๖.๘๔ และนักเรียนมีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนมีอัตรา ร้อยละ 7.16 รวมมีอัตราร้อยละ 14.00

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากกิจกรรมการ“คัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง” จำนวนนักเรียนทั้งหมด 614 คน สามารถรวบรวมข้อมูลจากการคัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง โดยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ หาค่าสถิติพื้นฐานของ โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ปีการศึกษา 256๑ พบว่า นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนมีอัตรา ร้อยละ ๖.๘๔ และนักเรียนมีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนมีอัตรา ร้อยละ 7.16 รวมมีอัตราร้อยละ 14.00

 

689 0

2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ออกกำลังกาย)

วันที่ 2 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนและอ้วนจาการเข้าร่วมกิจกรรม “แก้ปัญหาเด็กอ้วน”  ของนักเรียนที่ มีภาวะโภชนาการอ้วนและเริ่มอ้วน โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ปีการศึกษา 2561 พบว่า หลังเข้าร่วมกิจกรรม นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนมีอัตราลดลง ร้อยละ ๒.๑๓ และนักเรียนมีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนมีอัตราลดลง ร้อยละ 2.๗๘ รวมมีอัตราลดลงร้อยละ ๔.๙๑

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนและอ้วนจาการเข้าร่วมกิจกรรม “แก้ปัญหาเด็กอ้วน” ของนักเรียนที่ มีภาวะโภชนาการอ้วนและเริ่มอ้วน โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ปีการศึกษา 2561 พบว่า หลังเข้าร่วมกิจกรรม นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนมีอัตราลดลง ร้อยละ ๒.๑๓ และนักเรียนมีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนมีอัตราลดลง ร้อยละ 2.๗๘ รวมมีอัตราลดลงร้อยละ ๔.๙๑

 

30 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 19 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนและอ้วนได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากจำนวนทั้งหมด 83 คน ปรากฏว่ามีผู้ปกครองของนักเรียนให้ความร่วมและเข้าร่วมการอบรมครั้งนี้ จำนวน ๖๗ คน คิดเป็นร้อยละ 80.72

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนและอ้วนได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  จากจำนวนทั้งหมด 83 คน ปรากฏว่ามีผู้ปกครองของนักเรียนให้ความร่วมและเข้าร่วมการอบรมครั้งนี้ จำนวน ๖๗ คน คิดเป็นร้อยละ 80.72

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการจัดกิจกรรม “แก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนเริ่มอ้วน” สรุปผลได้ว่า โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนามีความสำเร็จของกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. จากกิจกรรมการ“คัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง” จำนวนนักเรียนทั้งหมด 614 คน สามารถรวบรวมข้อมูลจากการคัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง โดยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ หาค่าสถิติพื้นฐานของ โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ปีการศึกษา 256๑ พบว่า นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนมีอัตรา ร้อยละ ๖.๘๔ และนักเรียนมีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนมีอัตรา ร้อยละ 7.16 รวมมีอัตราร้อยละ 14.00 2. ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนและอ้วนได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากจำนวนทั้งหมด 83 คน ปรากฏว่ามีผู้ปกครองของนักเรียนให้ความร่วมและเข้าร่วมการอบรมครั้งนี้ จำนวน ๖๗ คน คิดเป็นร้อยละ 80.72
3. นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนและอ้วนจาการเข้าร่วมกิจกรรม “แก้ปัญหาเด็กอ้วน” ของนักเรียนที่ มีภาวะโภชนาการอ้วนและเริ่มอ้วน โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ปีการศึกษา 2561 พบว่า หลังเข้าร่วมกิจกรรม นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนมีอัตราลดลง ร้อยละ ๒.๑๓ และนักเรียนมีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วนมีอัตราลดลง ร้อยละ 2.๗๘ รวมมีอัตราลดลงร้อยละ ๔.๙๑

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจคัดกรอง
100.00 100.00

 

2 เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง และเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
15.48 10.00 14.00

 

3 นักเรียนกลุ่มเสี่ยง และผู้ปกครองได้รับการฝึกอบรมให้ความรู้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
80.00 80.72

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 689
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 323
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 366
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ (2) เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง (3) นักเรียนกลุ่มเสี่ยง และผู้ปกครองได้รับการฝึกอบรมให้ความรู้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ออกกำลังกาย)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการอ้วนหรือเริ่มอ้วน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L8020-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอนุวัช แก้วสว่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด