กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวผุสร์สวดี ศิริหิงค์โค

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5282-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 สิงหาคม 2561 ถึง 17 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง

(2) เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ

(3) ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของโรควัณโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรมโครงการและได้รับการคัดกรองวัณโรค จำนวน 335 คน คิดเป้นร้อยละ 100

  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยวัณโรค จำนวน 20 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อรักาาที่ถูกต้อง(อยู่ในช่วงดำเนินการส่งต่อ)

  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของวัณโรคอยู่ในระดับดี จำนวน 318 คน คิดเป็นร้อยละ 89.58

ข้อเสนอแนะ  ไม่มี

แนวทางแก้ไข ไม่มี

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรค(Tuberculosis:TB)เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วยและการเสียชีวิตในหลายๆประเทศทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศ ปัจจุบันทั่วโรคมีผู้ติดเชื้อวัณโรคประมาณ 2 พันล้านคนหรือเกือบ 1ใน3 ของประชากรทั่วโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต 1.90 ล้านคนในแต่ละปีประเทศไทยมีปัยจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยด้านผู้ป่วย สิ่งแวดล้อม สังคมและเศรษฐกิจ เช่น ความยากจน การด้อยโอกาศทางการศึกษา ชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด แรงงานต่างชาติผิดกฏหมาย ความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น จากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ 92,300 คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ 44,475 คนเป็นผู้ป่วยที่สามารถแพร่เชื้อได้และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ 12,089 ราย ซึ่งในอำเภอควนกาหลงพบผู้ป่วยวัณโรคจำนวน 16 รายและในตำบลอุใดเจริญพบจำนวน 1 ราย ซึ่งหากไม่มีการควบคุมที่ดีและถูกต้องตามแนวทาง อาจก่อให้เกิดการระบาดของวัณโรคในอนาคตได้ ซึ่งกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค มี 7กลุ่ม ดังนี้

  1. ผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค

  2. ผู้สูงอายุ

  3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง(เบาหวาน/ความดัน/COPD/Stroke/ไต/มะเร็ง)

  4. ผู้ติดเชื้อ HIV/AIDs

  5. แรงงานต่างด้าว

  6. ผู้ต้องขัง

  7. ผู้ติดสุรา/ยาเสพติด


ดังนั่นเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินโครงการแก้ไขปัญหาวัณโรค จึงจัดทำโครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาแบบยังยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง
  2. เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของโรควัณโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้และคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 355
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค

  2. ผู้ป่วยสงสัยวัณโรคที่ตรวจพบได้รับการรักษาทุกราย

  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องและสังเกตอาการของโรควัณโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้และคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 17 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการและนำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการและรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ

  2. ประสานพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการ

  3. ประสานวิทยากร กำหนดวัน เวลา และสถานที่ดำเนินการ

  4. ให้ความรู้และคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยงในการป้องกันและสังเกตอาการของโรควัณโรค ดังนี้

  • กิจกรรมคัดกรองและผู้ป่วยโรคเรื้องรังและผู้สูงอายุ หมู่ที่ 2 เป้าหมาย 110 หมู่ที่ 2

  • กิจกรรมคัดกรองและผู้ป่วยโรคเรื้องรังและผู้สูงอายุ หมู่ที่ 3 เป้าหมาย 94 หมู่ที่ 3

  • กิจกรรมคัดกรองและผู้ป่วยโรคเรื้องรังและผู้สูงอายุ หมู่ที่ 5 เป้าหมาย 93 หมู่ที่ 5

  • กิจกรรมคัดกรองและผู้ป่วยโรคเรื้องรังและผู้สูงอายุ หมู่ที่ 8 เป้าหมาย 58 หมู่ที่ 8

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรมโครงการและได้รับการคัดกรองวัณโรค จำนวน 335 คน คิดเป้นร้อยละ 100

  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยวัณโรค จำนวน 20 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อรักาาที่ถูกต้อง(อยู่ในช่วงดำเนินการส่งต่อ)

  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของวัณโรคอยู่ในระดับดี จำนวน 318 คน คิดเป็นร้อยละ 89.58

 

335 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรมโครงการและได้รับการคัดกรองวัณโรค จำนวน 335 คน คิดเป้นร้อยละ 100

  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยวัณโรค จำนวน 20 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อรักาาที่ถูกต้อง(อยู่ในช่วงดำเนินการส่งต่อ)

  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของวัณโรคอยู่ในระดับดี จำนวน 318 คน คิดเป็นร้อยละ 89.58

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค ร้อยละ 80
335.00 335.00

ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรมโครงการและได้รับการคัดกรองวัณโรค จำนวน 335 คน คิดเป้นร้อยละ 100

2 เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องร้อยละ 100
335.00 335.00

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยวัณโรค จำนวน 20 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อรักาาที่ถูกต้อง(อยู่ในช่วงดำเนินการส่งต่อ)

3 ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของโรควัณโรค
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของวัณโรคร้อยละ 80
335.00 355.00

ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของวัณโรคอยู่ในระดับดี จำนวน 318 คน คิดเป็นร้อยละ 89.58

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 355
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 355
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง

(2) เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ

(3) ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของโรควัณโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรมโครงการและได้รับการคัดกรองวัณโรค จำนวน 335 คน คิดเป้นร้อยละ 100

  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยวัณโรค จำนวน 20 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อรักาาที่ถูกต้อง(อยู่ในช่วงดำเนินการส่งต่อ)

  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตอาการของวัณโรคอยู่ในระดับดี จำนวน 318 คน คิดเป็นร้อยละ 89.58

ข้อเสนอแนะ  ไม่มี

แนวทางแก้ไข ไม่มี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ไม่มี

-

ไม่มี


โครงการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5282-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวผุสร์สวดี ศิริหิงค์โค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด