กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ (คนทำงานฟาร์มตัวอย่างต.ปิยามุมัง) ในพื้นที่ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2561

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ (คนทำงานฟาร์มตัวอย่างต.ปิยามุมัง) ในพื้นที่ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาร มูหะมะสาเล็ม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ (คนทำงานฟาร์มตัวอย่างต.ปิยามุมัง) ในพื้นที่ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3045-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ (คนทำงานฟาร์มตัวอย่างต.ปิยามุมัง) ในพื้นที่ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ (คนทำงานฟาร์มตัวอย่างต.ปิยามุมัง) ในพื้นที่ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพและสำรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานเบื้องต้น 2.2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานและสามารถไปปฏิบัติและถ่ายทอดต่อได้ 2.3 เพื่อลดจำนวนผู้รับบริการที่มาด้วยอาการ/ โรคจากการประกอบอาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) จัดอบรมรุ่นต่อไปเพราะคนทำงานในฟาร์ม มีหลายคนต้องจัดเป็นรุ่นๆเพื่ไม่ให้กระทบกับงานประจำที่ทำอยู่

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แรงงานนอกระบบ( Informal Workers) คือ ผู้ใช้แรงงานที่ทำงานโดยไม่มีสัญญาการจ้างงานที่เป็นทางการหรือไม่มีนายจ้างตามความหมายของกฎหมายแรงงาน ไม่ได้ทำงานอยู่ในสถานประกอบการของนายจ้าง ไม่มีค่าจ้างหรือค่าตอบแทนที่แน่นอน หรือเป็นผู้ประกอบอาชีพอิสระ หรือเป็นผู้ที่ทำงานชั่วคราว แรงงานอกระบบจึงเป็นแรงงานที่ไม่ได้อยู่ในกรอบความคุ้มครองของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายประกันสังคม ทำให้ไม่มีหลักประกันความมั่นคงใดๆ ในการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องงานที่มั่นคง ค่าตอบแทนแรงงานที่เป็นธรรม สุขภาพความปลอดภัยในการทำงาน และความมั่นคงในการดำรงชีวิตเมื่อเข้าสู่วัยชรา ลักษณะอาชีพที่เป็นตัวอย่างของแรงงานนอกระบบ เช่น ผู้รับงานไปทำที่บ้าน ผู้รับเหมาช่วงงานอุตสาหกรรมไปทำที่บ้าน (Industrial Outworkers) คนงานที่ทำงานไม่ประจำ ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างชั่วคราวตามฤดูกาล และลูกจ้างที่ทำงานไม่เต็มเวลา (Part-time workers) ลูกจ้างในโรงงานห้องแถว (Sweatshop)และคนงานที่ทำกิจการของตนเอง (Own Account Workers)อยู่ที่บ้านและโรงงานที่ไม่มีการตรวจสอบจดทะเบียนนอกจากนี้ยังหมายรวมถึงแรงงานอิสระที่ทำงานเพื่อความอยู่รอด เช่น หาบเร่ริมถนน คนขัดรองเท้า คนเก็บขยะ และแรงงานรับใช้ในบ้าน เป็นต้น โรคจากการประกอบอาชีพเกิดขึ้นทุกวันในทุกมุมโลก เมื่อเกิดกับบุคคลซึ่งอยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต สถานการณการเจ็บป่วยของแรงงานในระบบจากฐานข้อมูลประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๑ยังพบว่า มีผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทำงานทั่วประเทศจำนวน ๑๗๖,๕๐๒ราย โดยจำแนกออกเป็นผู้ป่วยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมากที่สุด จำนวน ๑๑๑,๗๔๐ราย รองลงมาได้แก่ เขตภาคกลาง จำนวน ๔๐,๘๙๒ราย เขตภาคใต้ จำนวน ๘,๒๒๐ราย เขตภาคเหนือ จำนวน ๘,๑๖๕ราย และเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน ๗,๔๘๕ราย ตามลำดับ การเจ็บป่วยจากการทำงานอาจเกิดได้หลายประการเช่นอาการปวดหลังปวดกล้ามเนื้อ พิษจากสารตะกั่ว โรคทางเดินหายใจ เครียด ฯลฯ
ตำบลปิยามุมังมีฟาร์มตัวอย่างพระราชดำริ ซึ่งมีชาวบ้านทั้งในเขตรับผิดชอบและนอกเขตรับผิดชอบที่ทำงาน โดยประมาณ 100 กว่าคน ลักษณะการทำงานแบ่งเป็นฝ่ายต่างๆ เช่น กลุ่มเพาะปลูกผักสวนครัว เพาะเห็ด กลุ่มเลี้ยงสัตว์ เช่น ไก่ วัว ปลานิล กลุ่มทำปุ๋ยอินทรีย์ แผนกคัดแยก แผนกขาย เป็นต้น ซึ่งทุกกลุ่มงานล้วนมีความเสี่ยงทั้งสิ้น ที่อาจเกิดขณะทำงาน และอาการส่วนใหญ่ที่มารับบริการที่รพ.ส.ต.ในกลุ่มประกอบอาชีพทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมังจึงเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวและได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ (คนทำงานฟาร์มตัวอย่าง ต.ปิยามุมัง) ในพื้นที่ตำบลปิยามุมัง ขึ้นเพื่อให้กลุ่มดังกล่าวได้รับการส่งเสริมสุขภาพและลดอาการความเจ็บป่วยจากการทำงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพและสำรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานเบื้องต้น 2.2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานและสามารถไปปฏิบัติและถ่ายทอดต่อได้ 2.3 เพื่อลดจำนวนผู้รับบริการที่มาด้วยอาการ/ โรคจากการประกอบอาชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมิน คัดกรองความเสี่ยงร้อยละ 100 7.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับส่งเสริมสุขภาพและป้องกันตนเองจากการประกอบอาชีพร้อยละ 80 7.3 จำนวนผู้รับบริการด้วยโรคจากการประกอบอาชีพที่มารับบริการที่รพ.สต.ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.แจ้งผู้จัดการฟาร์มตัวอย่างต.ปิยามุมังเรื่องจะจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มแรงงานนอกระบบ 2.ประสานวิทยากร 3.จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 80 คน 4.ตรวจสุขภาพเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมาย 5.ทำแบบประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ 6.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพร้อยละ 100 2.ผลการสำรวจสุขภาพของตนเองกลุ่มเป้าหมายพบ มีอาการเมื่อยล้า ปวดกล้ามเนื้อ มือ แขน ขา จำนวน 39 คนคิดเป็นร้อยละ 48.75 3.ผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในหัวข้อ กรณีมีแผล ควรเลี่ยงการสัมผัสกับ น้ำ มูลสัตว์ โดยตรง จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 80 4.พบจำนวนผู้มารับบริการด้วยอาการจากการประกอบอาชีก จำนวน 3 ราย ในอาชีพรับจ้างทั้วไป และอาชีพทำสวน ปลูกพืช จำนวน 2 ราย และ 1 รายตามลำดับ ซึ่งเป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อการเก็บข้อมูลในปีต่อๆ ไป

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.กลุ่มวัยแรงงานได้รับการตรวจประเมินสุขภาพ 2.กลุ่มวัยแรงงานมีความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพจากการประกอบอาชีพ 3.จำนวนผู้มารับบริการด้วยโรคจากการประกอบอาชีพลดลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพและสำรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานเบื้องต้น 2.2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานและสามารถไปปฏิบัติและถ่ายทอดต่อได้ 2.3 เพื่อลดจำนวนผู้รับบริการที่มาด้วยอาการ/ โรคจากการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจประเมินและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพและสำรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานเบื้องต้น 2.2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานและสามารถไปปฏิบัติและถ่ายทอดต่อได้ 2.3 เพื่อลดจำนวนผู้รับบริการที่มาด้วยอาการ/ โรคจากการประกอบอาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) จัดอบรมรุ่นต่อไปเพราะคนทำงานในฟาร์ม มีหลายคนต้องจัดเป็นรุ่นๆเพื่ไม่ให้กระทบกับงานประจำที่ทำอยู่

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ (คนทำงานฟาร์มตัวอย่างต.ปิยามุมัง) ในพื้นที่ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3045-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาร มูหะมะสาเล็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด