กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง


“ โครงการใส่ใจสุขภาพคนใกล้ขยะ ”

ตำบลปิยามุมัง องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
แผนงานสาธารณสุข สำนักปลัด อบต ปิยามุมัง

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพคนใกล้ขยะ

ที่อยู่ ตำบลปิยามุมัง องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3045-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กันยายน 2561 ถึง 21 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจสุขภาพคนใกล้ขยะ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปิยามุมัง องค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพคนใกล้ขยะ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เร่งสร้างความตระหนักให้พนักงานเก็บขยะ เข้มงวดกับมาตรการป้องกันตัวเองจากการทำงาน เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพให้ได้มากที่สุด - การดูแลตนเองเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันการเจ็บป่วย การป้องกันอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับการทำงานเก็บขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตัวเองจากแหล่งเชื้อโรคและการใช้อุปกรณ์การป้องกันให้ถูกวิธี การลดความเสี่ยงในการติดโรคให้น้อยที่สุด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีกิจกรรมสุขภาะบ่อยครั้งเพื่อสร้างความตระหนักในการรักษ์สุขภาพ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การทิ้งขยะรวมกันโดยไม่มีการคัดแยก ผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือพนักงานเก็บขยะ ซึ่งหากไม่ระวังป้องกันตัวเองแล้ว ก็จะทำให้มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค ซึ่งนำไปสู่การเกิดโรคเรื้อรัง ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งระบบพนักงานเก็บขนขยะมูลฝอย จัดเก็บขยะจากครัวเรือนจำนวนมาก ซึ่งประชาชนทิ้่งรวมกัน ทำให้พนักงานต้องช่วยกันคัดแยกขยะ บางคนใช้มือเปล่า และไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือยาง ผ้าปิดจมูกการต้องอยู่กับแหล่งสะสมเชื้อโรคเป็นเวลานานกว่า 8 ชั่วโมงต่อวัน แต่จากความเคยชิน พวกเขาจึงไม่ค่อยระวังป้องกันตัวเท่าที่ควร โดยอ้างความคล่องตัว แม้บางคนจะทราบดีว่า กำลังอยู่บนความเสี่ยงด้านผลกระทบต่อสุขภาพผลสำรวจของชีวจิตโพล พบว่า ผลกระทบทางสุขภาพจากผู้ทำงานที่เกี่ยวข้องกับขยะส่วนใหญ่มีอาการ ท้องร่วง ภูมิแพ้ คลื่นไส้อาเจียน และปวดศีรษะ ซึ่ง อบตได้จัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกัน พร้อมกำชับพนักงานทุกคนให้ระมัดระวัง แต่ในทางปฏิบัติหลายคนยังไม่ตระหนักเรื่องนี้สิ่งคุกคามต่อสุขภาพพนักงานเก็บขยะ มีหลายรูปแบบ ทั้งถูกของมีคมบาด จนอาจเกิดแผลติดเชื้อ และบาดทะยัก อันตรายจากเชื้อโรคใน กระดาษชำระ ถุงยางอนามัย ผ้าอนามัย เศษอาหารเน่าบูด และซากสัตว์สอดคล้องกับข้อมูลจากกรมควบคุมโรค ที่ระบุว่า ฝุ่นละออง และกลิ่นจากกองขยะ ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ เสี่ยงต่อโรคปอด ภูมิแพ้ ยิ่งไปกว่านั้นหากสัมผัสกับขยะอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟนีออนแตก แบตเตอรี่เก่า อาจได้รับพิษปรอท ตะกั่ว แคดเมี่ยม นำไปสู่โรคเรื้อรังทางระบบประสาท สมอง หลอดเลือด อาจถึงขั้นเกิดมะเร็ง แต่ที่พบมากที่สุดคือการติดเชื้อในลักษณะเฉียบพลันขณะที่ความคิดของประชาชนส่วนใหญ่ที่มองว่าการจัดเก็บขยะไม่ใช่หน้าที่ ทำให้การปลูกฝังเรื่องการคัดแยกขยะจากครัวเรือนทำได้ยาก พนักงานเก็บขยะจึงต้องเผชิญกับความเสี่ยงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เร่งสร้างความตระหนักให้พนักงานเก็บขยะ เข้มงวดกับมาตรการป้องกันตัวเองจากการทำงาน เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพให้ได้มากที่สุด - การดูแลตนเองเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันการเจ็บป่วย การป้องกันอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับการทำงานเก็บขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตัวเองจากแหล่งเชื้อโรคและการใช้อุปกรณ์การป้องกันให้ถูกวิธี การลดความเสี่ยงในการติดโรคให้น้อยที่สุด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ทำให้ทราบถึงปัญหาและสาเหตุที่สำคัญ ที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วย - วางแผนและแก้ไขปัญหาได้อย่างครอบคลุมและตรงกับปัญหาของแรงงานเก็บขยะมากขึ้น - ฝึกฝนวินัย ให้ใส่ใจสิ่งแวดล้อมส่วนรวม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตัวเองจากแหล่งเชื้อโรคและการใช้อุปกรณ์การป้องกันให้ถูกวิธี การลดความเสี่ยงในการติดโรคให้น้อยที่สุด

วันที่ 21 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1 กระบวนการอบรมให้ความรู้เรื่องขยะอันตรายจากชุมชน
2. สร้างกระบวนการจัดเก็บรวบรวมขยะอันตรายจากชุมชนให้เหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น 3. แนะนำเรื่องการกำจัดและทำลายให้ถูกต้องตามหลักวิชาการให้กับคนใกล้ขยะ 4 วิธีป้องกันตัวเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ขั้นตอนแรกเราได้จัดกระบวนการอบรมให้ความรู้เรื่องขยะอันตรายจากชุมชน พร้อมกิจกรรมการเล่นเกมตอบคำถามโดยมีของรางวัลให้ และให้ผู้เข้าร่วมการอบรมออกมาแสดงความคิดเห็นและเล่าเรื่องที่ได้เรียนรู้ไปทั้งหมดว่ามีความเข้าใจมากน้อยแค่ไหน เพื่อสามารถนำไปใช้ปรับปรุงในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป เน้นกิจกรรมเพื่อสร้างกระบวนการจัดเก็บรวบรวมขยะที่อันตรายจากชุมชน และการป้องกันตัวเองจากขยะสกปรก และอาจเกิดเชื้อโรคต่างๆ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เน้นกิจกรรมเพื่อสร้างกระบวนการจัดเก็บต้องมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการและวิธีการจัดเก็บรวบรวมให้เหมาะสม แยกประเภทให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถนำขยะอันตรายจากชุมชนไปกำจัดและทำลายให้เหมาะสมกับคุณสมบัติของขยะอันตรายจากชุมชนแต่ละประเภทต่อไป รวมขยะอันตรายจากชุมชน จาการจัดกิจกรรมมีผู้เข้าร่วมรับฟังการบรรยาย  50 คน ผลของการอบรมทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความตระหนักมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องขยะอันตรายจากบ้านเรือนซึ่งวัดผลได้จากการที่ ผู้เข้ารับการอบรมช่วยกันนำขยะพิษมาทิ้งที่ตู้ทิ้งขยะพิษที่ทางผู้ใหญ่บ้านกำหนดจุดไว้ให้ซึ่งแค่ระเวลา 1 เดือน สามารถรวบรวมขยะไว้ได้ ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสนใจพอสมควร และจะช่วยกันทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยกัน ลดการเกิดขยะพิษพร้อมทั้งช่วยกันคัดแยกทิ้งให้ถูกต้องต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เร่งสร้างความตระหนักให้พนักงานเก็บขยะ เข้มงวดกับมาตรการป้องกันตัวเองจากการทำงาน เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพให้ได้มากที่สุด - การดูแลตนเองเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันการเจ็บป่วย การป้องกันอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับการทำงานเก็บขยะ
ตัวชี้วัด : พนักงานเก็บขยะ และคนที่มีอาชีพเก็บของเก่าหรือรับซื้อของเก่า รู้จักการป้องกันตัวเองให้ปลอดภัยจากแหล่งขยะ สามารถมีสุขภาพที่ดีไม่เป็นโรคที่ติดต่อได้ง่ายๆ
0.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 10 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เร่งสร้างความตระหนักให้พนักงานเก็บขยะ เข้มงวดกับมาตรการป้องกันตัวเองจากการทำงาน เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพให้ได้มากที่สุด - การดูแลตนเองเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันการเจ็บป่วย การป้องกันอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับการทำงานเก็บขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตัวเองจากแหล่งเชื้อโรคและการใช้อุปกรณ์การป้องกันให้ถูกวิธี การลดความเสี่ยงในการติดโรคให้น้อยที่สุด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีกิจกรรมสุขภาะบ่อยครั้งเพื่อสร้างความตระหนักในการรักษ์สุขภาพ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพคนใกล้ขยะ

รหัสโครงการ 61-L3045-2-07 ระยะเวลาโครงการ 21 กันยายน 2561 - 21 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

จัดหาอุปกรณ์ป้องกันให้ถูกต้อง ป้องกันจากเชื้อโรคได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการใส่ใจสุขภาพคนใกล้ขยะ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3045-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( แผนงานสาธารณสุข สำนักปลัด อบต ปิยามุมัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด