กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง


“ โครงการอากาศดี สุขภาพดี รักษ์สิ่งแวดล้อม ”

ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
สภาเด็กและเยาวชน

ชื่อโครงการ โครงการอากาศดี สุขภาพดี รักษ์สิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3045-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กันยายน 2561 ถึง 25 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอากาศดี สุขภาพดี รักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอากาศดี สุขภาพดี รักษ์สิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอากาศดี สุขภาพดี รักษ์สิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3045-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กันยายน 2561 - 25 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการที่มนุษย์พยายามสร้าง และพัฒนาความเจริญให้สังคมที่ตนเองอาศัยอยู่โดยการนำทรัพยากรที่มีอยู่ตามธรรมชาติมาใช้อย่างไม่ระมัดระวังทำให้ความสมดุลย์ทางธรรมชาติเสียไปดังนั้นจึงส่งผลให้ในปัจจุบันนี้สิ่งแวดล้อมได้เสื่อมโทรมลงไปมากและเกิดปัญหามลพิษของสิ่งแวดล้อมซึ่งกำลังทวีความรุนแรงขึ้นจึงจำเป็นจะต้องมีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหามลพิษอย่างเร่งด่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาขยะมูลฝอยจาก แหล่งกำเนิดต่าง ๆ ทางรัฐบาลเองต่างก็ตระหนักดีในปัญหาดังกล่าวนี้ โดยได้มีการกำหนดมาตรการและแผนงานต่าง ๆ มารองรับเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้ แต่ก็ไม่สามารถที่จะแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ได้อย่างเด็ดขาด ยังคงมีปัญหาขยะมูลฝอย ตกค้างอยู่ตามสถานที่ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นชุมชนขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ในเมืองหรือนอกเมืองก็ตาม นอกจากนี้ปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วจากผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรและมากกว่านั้นขยะมูลฝอยส่วนใหญ่จะถูกขนส่งและถูกนำไปกำจัดอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ในลักษณะของการเทกองกลางแจ้งและเผาเป็นครั้งคราวซึ่งการกำจัดโดยวิธีที่กล่าวมานี้ก่อให้เกิดปัญหาตามมาอย่างมากมาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยต่อผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงและยังทำลายชั้นบรรยากาศของโลกอีกด้วย นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำ ซึ่งมีสาเหตุมาจาก การชะล้างสิ่งสกปรกต่าง ๆ ที่เกิดจากการอุปโภคบริโภคลงสู่แม่น้ำลำคลองหรือผิวดิน ทำให้เกิดการเน่าเสียค้างอยู่ในสิ่งแวดล้อมซึ่งอาจก่อให้เกิดแหล่งพาหะนำโรค และส่งกลิ่นเหม็นต่อชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง ปัญหาที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ ปัญหาทรัพยากรที่ลดน้อยลง ถ้าวันนี้เราดูแลสิ่งแวดล้อม วันหนึ่งสิ่งแวดล้อมก็จะดูแลเรา เรื่องสิ่งแวดล้อม ไม่ใช่แค่ต้นไม้ แต่เป็นคุณภาพชีวิต การเดินทาง สภาพอากาศ คือรายละเอียดที่อยู่รอบตัวและใช้ชีวิตอยู่ด้วยทุกวันต้นไม้ไม่ได้ช่วยแค่การสร้างพื้นที่สีเขียว แต่ยังช่วยเรื่องสิ่งแวดล้อม รวมถึงคุณภาพชีวิตของคนที่อยู่ใกล้ คอยเป็นปอด เป็นที่ฟอกอากาศ รวมถึงเป็นที่พักผ่อนด้วย”ดังพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ว่า “การที่จะมีต้นน้ำลำธารไปชั่วกาลนานนั้น สำคัญอยู่ที่การรักษาน้ำ และปลูกป่าบริเวณต้นน้ำ” การจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับโลก อันเป็นแนวทางหนึ่งในการลดภาวะโลกร้อน สภาเด็ก ฯ ตำบลปิยามุมังคิดว่าการดำเนินกิจกรรมนี้สามารถช่วยให้ชุมชนน่าอยู่ และมีสุขภาพดี จิตใจดี ตามไปด้วย จึงขออนุมัติโครงการเพื่อดำเนินการตามกิจกรรมต่างๆนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ผู้นำชุมชน หน่วยงานทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมเรื่องสิ่งแวดล้อม ไม่ใช่แค่ต้นไม้ แต่เป็นคุณภาพชีวิต การเดินทาง สภาพอากาศ คือรายละเอียดที่อยู่รอบตัวและใช้ชีวิตอยู่ด้วยทุกวันต้นไม้ไม่ได้ช่วยแค่การสร้างพื้นที่สีเขียว แต่ยังช่วยเรื่องสิ่งแวดล้อม รวมถึงคุณภาพชีวิตของค
  2. - กิจกรรมหน้าบ้านเขียวได้อีก' คือการส่งเสริมให้มีพื้นที่สีเขียวเกิดขึ้นในชุมชน การปลูกต้นไม้หน้าบ้าน รวมถึงขอความร่วมมือจากทางสำนักงานขององค์กรต่างๆ ร่วมจัดทำพื้นที่สีเขียวในองค์กร พร้อมทั้งช่วยกันดูแลให้เกิดความยั่งยืนขึ้นในระยะยา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เยาวชน ประชาชนได้ตระหนัก เห็นคุณค่าของการมีต้นไม้ และต้องการรักษาไว้ให้คงอยู่ อย่างน้อยก็เพื่อลูกหลานของตนเองพวกเขาจะได้เห็นต้นไม้ใหญ่ที่พ่อแม่ดูแลรักษาไว้ ผู้ที่มีใจรักต้นไม้ทำให้เป็นคนที่มีจิตใจงดงามโอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น ทำให้เป็นสังคมที่สงบสุขได้ ปอดของคนจะได้รับอากาศที่บริสุทธิ์เมื่อเต็มไปด้วยต้นไม้ที่มีสีเขียวและ ทำให้เยาวชนและกลุ่มพลังมวลชนใช้เป็นแนวทางในการสร้างความสามัคคี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมเรื่องสิ่งแวดล้อม ไม่ใช่แค่ต้นไม้ แต่เป็นคุณภาพชีวิต การเดินทาง สภาพอากาศ คือรายละเอียดที่อยู่รอบตัวและใช้ชีวิตอยู่ด้วยทุกวันต้นไม้ไม่ได้ช่วยแค่การสร้างพื้นที่สีเขียว แต่ยังช่วยเรื่องสิ่งแวดล้อม รวมถึงคุณภาพชีวิตของค

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเยาวชนร่วมเสนอโครงการ เขียนโครงการ นำเสนอโครงการผ่านคณะกรรมการ แกนนำเยาวชน กลุ่มอาสาสมัคร กลุ่มสตรี ได้รับการอบรม ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์จากต้นไม้ ต้นไม้จะ ช่วยคายออกซิเจนในช่วงกลางวัน ทำให้เราได้อากาศบริสุทธิ์ ซึ่งการได้สูดอากาศบริสุทธิ์ มีผลดีต่อสุขภาพ ของเราช่วยดูดซับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นตัวการให้เกิดภาวะเรือนกระจก ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน พืช ผล สามารถนำมารับประทานเป็นอาหาร หรือ ยารักษาโรคได้ การปลูกต้นไม้ เป็นการผ่อนคลายความเครียดได้อย่างนึง แบ่งกลุ่ม สำรวจต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่เช่น ต้นยางนา อบรมและสรุป ต้นไม้ฟอกอากาศให้บริสุทธิ์ได้อย่างไร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชน ประชาชนได้ตระหนัก เห็นคุณค่าของการมีต้นไม้ และต้องการรักษาไว้ให้คงอยู่ อย่างน้อยก็เพื่อลูกหลานของตนเองพวกเขาจะได้เห็นต้นไม้ใหญ่ที่พ่อแม่ดูแลรักษาไว้  ผู้ที่มีใจรักต้นไม้ทำให้เป็นคนที่มีจิตใจงดงามโอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น ทำให้เป็นสังคมที่สงบสุขได้ ปอดของคนจะได้รับอากาศที่บริสุทธิ์เมื่อเต็มไปด้วยต้นไม้ที่มีสีเขียวและ ทำให้เยาวชนและกลุ่มพลังมวลชนใช้เป็นแนวทางในการสร้างความสามัคคี

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ผู้นำชุมชน หน่วยงานทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ :เพื่อเป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี อากาศสดชื่น ในชุมชนหมู่บ้าน/ชุมชน หน่วยงานสะอาด ปราศจากโรคภัยอัตราป่วยลดลง ชุมชนมีกิจกรรมร่วมกันลดปัญหาการเป็นโรคซึมเศร้า
0.00 0.00

ต้นไม้ที่ร่วมกันปลูกจำนวน ไม่ต่ำกว่า 100 ต้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 30 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ผู้นำชุมชน หน่วยงานทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมเรื่องสิ่งแวดล้อม ไม่ใช่แค่ต้นไม้ แต่เป็นคุณภาพชีวิต การเดินทาง สภาพอากาศ คือรายละเอียดที่อยู่รอบตัวและใช้ชีวิตอยู่ด้วยทุกวันต้นไม้ไม่ได้ช่วยแค่การสร้างพื้นที่สีเขียว แต่ยังช่วยเรื่องสิ่งแวดล้อม รวมถึงคุณภาพชีวิตของค (2) - กิจกรรมหน้าบ้านเขียวได้อีก'  คือการส่งเสริมให้มีพื้นที่สีเขียวเกิดขึ้นในชุมชน การปลูกต้นไม้หน้าบ้าน รวมถึงขอความร่วมมือจากทางสำนักงานขององค์กรต่างๆ ร่วมจัดทำพื้นที่สีเขียวในองค์กร พร้อมทั้งช่วยกันดูแลให้เกิดความยั่งยืนขึ้นในระยะยา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอากาศดี สุขภาพดี รักษ์สิ่งแวดล้อม

รหัสโครงการ 61-L3045-2-09 ระยะเวลาโครงการ 24 กันยายน 2561 - 25 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

เป็นการฟอกปอดโดยต้นไม้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การปลูกต้นไม้เป็นการออกกำลัง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

การปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียวเป็นการลดความเครียด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยการปลูกพืชชนิดสมุนไพร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

มีสถานที่พักผ่อนในบ้านบริเวณบ้าน และชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

ให้สมาชิกเพิ่มพื้นที่สีเขียว

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอากาศดี สุขภาพดี รักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3045-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สภาเด็กและเยาวชน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด