กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด


“ โครงการอบรมภูมิปัญญาท้องถิ่น สมุนไพรไล่ยุง ”

สนง.เทศบาลตำบลตะโหมด ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเฉลิมชนม์ อินท์สุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมภูมิปัญญาท้องถิ่น สมุนไพรไล่ยุง

ที่อยู่ สนง.เทศบาลตำบลตะโหมด ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L7577-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมภูมิปัญญาท้องถิ่น สมุนไพรไล่ยุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สนง.เทศบาลตำบลตะโหมด ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมภูมิปัญญาท้องถิ่น สมุนไพรไล่ยุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมภูมิปัญญาท้องถิ่น สมุนไพรไล่ยุง " ดำเนินการในพื้นที่ สนง.เทศบาลตำบลตะโหมด ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L7577-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในขณะนี้ทั่วพื้นที่ตำบลตะโหมดมีฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดปัญหาน้ำท่วมขังในหลายจุด เมื่อมีน้ำท่วมขังสิ่งหนึ่งที่มักจะตามมา คือ โรคไข้เลือดออกที่ปัจจุบันมีแนวโน้มผู้ป่วยสูงขึ้นเรื่อยๆ และถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องเร่งแก้ไขและควบคุมโดยเร็ว ทั้งนี้โรคไข้เลือดออกจะติดต่อจากคนไข้ที่มีเชื้อไข้เลือดออกโดยมียุงลายเป็นพาหะ เมื่อยุงลายไปกัดคนที่มีเชื้อก็จะนำเชื้อไข้เลือดออกไปติดคนอื่นได้โดยไปกัดคนอื่นต่อ และมียุงลายเป็นต้นพาหะ ในการแพร่กระจายโรค ยุงลายเป็นสัตว์ที่ออกหากินตอนกลางวัน ดังนั้นช่วงเวลากลางวันจึงเป็นช่วงที่เราเสี่ยงที่จะโดนยุงที่เป็นพาหะนาโรคมากัดเรา โดยปกติแล้วเรามักจะมีการป้องกันยุงด้วยวิธีต่างๆเฉพาะตอนกลางคืน แต่ขาดการระมัดระวังในตอนกลางวันซึ่งเป็นช่วงที่ยุงลายออกหากิน โดยเฉพาะในช่วงนี้เป็นฤดูฝนจึงทำให้ยุงลายมีแหล่งเพาะพันธุ์ที่มากขึ้นจากน้ำที่ขังตามที่ต่างๆ จึงสังเกตได้ว่าช่วงนี้ของทุกปีเป็นช่วงที่มีอัตราการระบาดของโรคสูง นอกจากยุงลายที่เป็นพาหะของไข้เลือดออกแล้ว ยุงชนิดอื่นๆ ยังเป็นพาหะนำโรคอีกหลายชนิดมาสู่มนุษย์และสัตว์เลี้ยงได้ เช่น ไข้สมองอักเสบ ไข้จับสั่น มาเลเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องหาวิธีการป้องกันยุงกัด รวมถึงการหาวิธีการป้องกันกำจัดยุงที่ถูกนำมาใช้นั้นมีวิธีการหลากหลายวิธี ซึ่งมีตั้งแต่วิธีการธรรมดา ไปจนถึงวิธีการซับซ้อนอย่างการทำหมันยุงตัวผู้เพื่อลดประชากรยุงลง แต่วิธีที่คนทั่วไปนิยมใช้ที่สุดคือการใช้สารเคมีในการกำจัดยุง เนื่องจากหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาดทั่วไป ให้ผลรวดเร็วทันใจ แต่การใช้สารเคมีเหล่านี้ หากผู้ใช้ไม่เข้าใจวิธีการใช้ที่ถูกต้องก็อาจเป็นอันตรายแก่ผู้ใช้เอง และในการกำจัดยุงในบริเวณกว้างจะต้องใช้สารเคมีปริมาณมาก สารเคมีเหล่านี้จะตกค้างในสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นพิษทั้งต่อมนุษย์และสัตว์เลี้ยงได้ ทั้งยังทำให้เกิดปัญหาต่อระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมตามมา นอกจากนี้การใช้สารเคมีในระยะยาวยังทำให้ยุงดื้อต่อสารเคมีอีกด้วย และผลกระทบอีกอย่างหนึ่งของการใช้สารเคมีเกินความจำเป็นคือสามารถก่อให้เกิดความผิดปกติต่างๆ โดยเฉพาะในบ้านที่มีเด็กเล็ก ซึ่งอาจจะมีผลทำให้เกิดอาการแพ้สารเคมี ผิวหนังอักเสบ รวมทั้งทำให้เกิดอาการหายใจขัดข้อง หรือถ้าอาการรุนแรงมากอาจทำให้เสียชีวิตได้
ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยแล้วว่า มีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการกำจัดยุงได้ ที่ขึ้นชื่อเป็นที่รู้จักกันดีก็คือ ตะไคร้หอม ที่นำมาผลิตสเปรย์กันยุง ซึ่งการนำสมุนไพรมาผลิตเป็นสมุนไพรไล่ยุงนอกจากจะช่วยลดการใช้สารเคมีสังเคราะห์แล้วนั้น การใช้สมุนไพรยังมีความปลอดภัยมากกว่าการใช้สารเคมีที่มีขายตามท้องตลาดอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ผู้จัดทำโครงการจึงได้ศึกษาเพื่อคิดหาผลิตภัณฑ์ที่ใช้กำจัดยุงในรูปแบบที่ไม่เป็นอันตรายทั้งต่อคน สัตว์เลี้ยงและสิ่งแวดล้อม โดยการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาเป็นวัตถุดิบหลัก เพื่อผลิตเป็นน้ำมันหอมระเหยก่อน จากนั้นจึงนำน้ำมันหอมระเหยที่ได้มาผลิตตามกระบวนการวิจัยเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง เช่น ทำในรูปแบบสเปรย์ เป็นต้น ซึ่งการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้นี้นอกจากจะเป็นการช่วยลดปัญหาดังกล่าวแล้ว ยังทำให้ชุมชนตระหนักและเห็นคุณค่าของสมุนไพรใกล้ตัวที่เป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างปลอดพิษปลอดภัยในสังคมไทย และสังคมโลกต่อไป กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลตะโหมด จึงได้เสนอโครงการฯ ขึ้นเพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สมุนไพรไล่ยุง เพื่อฝึกปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไล่ยุง และส่งเสริมการใช้สมุนไพรพื้นบ้านในชีวิตประจำวัน ซึ่งจะช่วยให้ประชาชนมีสุขภาพดี เนื่องจากการลดการใช้สารเคมีสังเคราะห์ และยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ทั้งยังทำให้ชุมชนตระหนักและเห็นคุณค่าของสมุนไพรใกล้ตัวที่เป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่ถูกชี้แนะไว้โดยบรรพบุรุษของการวิจัยคือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างปลอดพิษปลอดภัยในสังคมไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อหาสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ทดแทนสารเคมีในการไล่ยุง
  2. 2. เพื่ออนุรักษ์สมุนไพรใช้ไล่ยุงจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  3. 3. เพื่อเป็นการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ในงานควบคุมโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เพื่อถ่ายทอดการผลิตสมุนไพรไล่ยุง ให้กับกลุ่มชุมชนหรือประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจ
    2. เพื่ออนุรักษ์สมุนไพรไล่ยุงจากพืชสมุนไพรภูมิปัญญาท้องถิ่น
    3. ประชาชนสามารถใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในทางป้องกันโรคได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อหาสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ทดแทนสารเคมีในการไล่ยุง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่ออนุรักษ์สมุนไพรใช้ไล่ยุงจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อเป็นการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ในงานควบคุมโรค
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อหาสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ทดแทนสารเคมีในการไล่ยุง (2) 2. เพื่ออนุรักษ์สมุนไพรใช้ไล่ยุงจากภูมิปัญญาท้องถิ่น (3) 3. เพื่อเป็นการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ในงานควบคุมโรค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมภูมิปัญญาท้องถิ่น สมุนไพรไล่ยุง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L7577-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเฉลิมชนม์ อินท์สุวรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด