กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ


“ โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ”

ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายณัฐวัชต์ ศิริสวัสดิ์

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1515-03-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1515-03-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของการเรียนรู้เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นช่วงชีวิตที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาด้านต่าง ๆทั้ง๔ด้านคือด้านร่างกายสังคมอารมณ์ – จิตใจและสติปัญญาและเด็กที่อยู่ในช่วงวัย๒ – ๕ปีถือว่าเป็นช่วงเวลาวิกฤตที่เป็นจุดเริ่มต้นของการวางรากฐานคุณภาพชีวิตการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการอย่างถูกต้องเหมาะสม ย่อมนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป การเฝ้าระวังโรคการป้องกันเป็นมาตรการที่ดำเนินการก่อนการเกิดโรคเพื่อไม่ให้เกิดการระบาดของโรคและก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและความเป็นอยู่กิจกรรมการเฝ้าระวังเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างเสริมสุขภาพทั้งส่วนบุคคลและสังคมเป็นการลงทุนที่ค่อนข้างต่ำแต่สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาลได้มากและที่สำคัญการเฝ้าระวังโรคเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยความร่วมมือและการประสานงานกับชุมชนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผู้ปกครองมีส่วนสำคัญทุกกระบวนการเฝ้าระวังโรคเริ่มตั้งแต่การร่วมแสดงความคิดเห็นร่วมตัดสินใจร่วมดำเนินการและที่สำคัญคือการประเมินผล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองครก สังกัดสำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรืออำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เน้นการสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามที่สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ ประกอบกับ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองครกเล็งเห็นว่าเป็นทิศทางการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และตอบสนองนโยบายรัฐบาล โดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสุข ตามหลักกองทุนประกันสุขภาพ (สปสช.) ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือที่ต่อเนื่องและเข็มแข็ง ภายใต้ทิศทางการดำเนินงานเดียวกัน อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด จะส่งผลให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลมีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเองและดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม
  2. เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่เด็กผู้ปกครองและชุมชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับเด็กครอบครัวและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเองและดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ๒. เสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่ผู้ปกครองและชุมชน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กและการดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับเด็ก ครอบครัว และชุมชน ๓. เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากร ทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจระหว่างศูนย์เด็กเล็ก ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาคีต่าง ๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ขั้นเตรียมการ ๑. จัดทำโครงการ แผนปฏิบัติการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ -ขั้นดำเนินการ ๑. ฝึกให้เด็กล้างมืออย่างถูกวิธีทุกวัน โดยก่อนรับประทานอาหารหลังจากเข้าห้องน้ำหลังจากเล่นหรือทำกิจกรรม ทุกครั้ง ๒.ใช้สื่อช่วยกระตุ้นให้เด็กได้ ล้างมืออย่างถูกวิธี เช่น CD การ์ตูน เพลง นิทาน โปสเตอร์ต่าง ๆโฟมบอร์ด ๓.ครูตรวจสุขภาพประจำวัน คัดกรองและบันทึกอาการป่วยของเด็ก ๔.ให้ความรู้แก่ครูและผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรค -ขั้นประเมินผล ๑. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองครกได้รับการตรวจสุขภาพและปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ๒. ชุมชนมีส่วนร่วมในกระบวนการสนับสนุนกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.เด็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเองและดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ๒. ผู้ปกครองและชุมชนเข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ๓. ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กและการดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อม ตลอดจนวิทยากรแนะนำวิธีการป้องกันการเกิดโรค
๔. ผู้ปกครองมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ๕. ผู้ปกครองได้ทำแบบสอบถาม ทำให้ทราบว่าผู้ปกครองได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของบุตรหลานได้มากน้อยเพียงใด และมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมให้ความรู้ในครั้งนี้มากน้อยแค่ไหน

 

99 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเองและดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองครก ได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ
0.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่เด็กผู้ปกครองและชุมชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับเด็กครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ของผู้ปกครองและชุมชนได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเองและดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม (2) เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่เด็กผู้ปกครองและชุมชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับเด็กครอบครัวและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1515-03-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณัฐวัชต์ ศิริสวัสดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด