กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าพะยอม


“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลป่าพะยอม ”

ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางปรียาหิรัญโยดมนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลป่าพะยอม

ที่อยู่ ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L8416-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าพะยอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลป่าพะยอม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลป่าพะยอม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าพะยอม อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L8416-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าพะยอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เกิดจาการติดเชื้อไวรัส มียุงลายชนิด Aedesaegyptiและ Aedesalbopictusเป็นพาหะนำโรค ยุงลายชอบกัดดูดเลือดคนในเวลากลางวัน พบมากในฤดูฝน ชอบวางไข่ตามภาชนะขังน้ำ ที่มีน้ำนิ่ง ใส ทั้งภายในและภายนอกบริเวณบ้าน โรงเรียน วัด หรือสถานที่ต่างๆ ในชุมชน ดังนั้นการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ได้ผล จึงมุ่งเน้นไปที่การกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงตัวเต็มวัย รวมถึงการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ จากรายงานการเฝ้าระวังโรคของตำบลป่าพะยอม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 – 2560พบว่า ในปี 2556มีผู้ป่วย 9รายคิดอัตราป่วยเท่ากับ 149.27ต่อแสนประชากรปี2557มีผู้ป่วย 9 รายคิดอัตราป่วยเท่ากับ148.39ต่อแสนประชากร2558 มีผู้ป่วย 6 รายคิดอัตราป่วยเท่ากับ 98.93ต่อแสนประชากร 2559 มีผู้ป่วย 6 รายคิดอัตราป่วยเท่ากับ98.93ต่อแสนประชากร2560 มีผู้ป่วย 15 รายคิดอัตราป่วย243.11ต่อแสนประชากรลักษณะการระบาดกระจายไปทุกหมู่บ้าน จากการดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในชุมชน มีการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกทุก เดือนอย่างสม่ำเสมอก็ยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกตลอด และจะมีการระบาดในช่วงฤดูฝน ปัจจุบันพบว่าการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกมีแนวโน้มสูงขึ้นจากการรายงานการเฝ้าระวังของกองระบาดวิทยา นอกจากนี้ยังปรากฏว่ายุงลายสามารถแพร่พันธุ์ได้ตลอดทั้งปีส่งผลให้อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกมีตลอดทั้งปีและแพร่ระบาดไปทั่วทั้งในเขตเมืองและชนบทฉะนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่องค์การบริหารส่วนตำบลจะต้องเร่งหาแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมิให้มีอัตราเพิ่มสูงขึ้นแต่เนื่องจากการดำเนินการป้องกันโรคให้ได้ผลดีนั้นจะต้องได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากประชาชนชุมชนทุกครัวเรือนเพื่อป้องกันการระบาดที่อาจเกิดต่อเนื่องถึงปี 2561จึงต้องดำเนินการให้มีการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน โดยการสนับสนุนให้ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องพึ่งพาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประกอบกับพาหะของโรคไข้เลือดออกคือ ยุงลาย ซึ่งมีแหล่งเพาะพันธุ์ตามภาชนะกักเก็บน้ำทั่วไปที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ภาชนะเก็บน้ำใช้ที่ไม่มีฝาปิดมิดชิด โดยเฉพาะโอ่งน้ำใช้ ถังเก็บน้ำในห้องน้ำ ห้องส้วม แจกันดอกไม้สด จานรองขาตู้กับข้าวกันมด และเศษวัสดุที่มีน้ำขัง ซึ่งมีกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคที่ดี จะต้องได้รับความร่วมมืออย่างดีจากประชาชน ทุกครัวเรือนในชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนช่วยกันกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตลอดปี จึงจะเกิดผลสำเร็จเป็นรูปธรรม
จากผลการดำเนินงานการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของตำบลป่าพะยอมเมื่อปี พ.ศ.2560ได้สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย พบว่าทั้งในบ้านและบริเวณนอกบ้านโรงเรียน วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสถานที่ต่างๆ ในชุมชนยังมีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายดังนั้น จึงต้องดำเนินการเร่งรัดประสานความร่วมมือระหว่างบุคคลภายในบ้าน ชุมชนและโรงเรียน ในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ให้มีการปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับรู้ข่าวสาร ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชนมีส่วนร่วม จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ตำบลป่าพะยอม จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกรวมทั้งส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกซึ่งจะส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลป่าพะยอมลดลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร และมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุม โรคไข้เลือดออก 2.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนและกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3.ลดค่า HI(ร้อยละของบ้านที่พบลูกน้ำ)ในหมู่บ้านไม่เกินร้อยละ 10

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้แก่ประชาชนและรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,185
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชนมีการตื่นตัวและตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนร่วมมือกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและ สม่ำเสมอทำให้ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย (CI, HI) ลดลงทำให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับที่ไม่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร และมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุม โรคไข้เลือดออก 2.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนและกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3.ลดค่า HI(ร้อยละของบ้านที่พบลูกน้ำ)ในหมู่บ้านไม่เกินร้อยละ 10
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก 2.ค่า HI (ร้อยละของบ้านที่พบลูกน้ำ) ในหมู่บ้านไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6185
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,185
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร และมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุม โรคไข้เลือดออก 2.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนและกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน              3.ลดค่า HI(ร้อยละของบ้านที่พบลูกน้ำ)ในหมู่บ้านไม่เกินร้อยละ 10

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่ประชาชนและรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลป่าพะยอม จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L8416-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปรียาหิรัญโยดมนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด