กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลพนมวังก์ ”

ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางขวัญใจหาญณรงค์

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลพนมวังก์

ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลพนมวังก์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลพนมวังก์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลพนมวังก์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจทุกเพศทุกวัยจากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากรจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10(พ.ศ.2550–2554) กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชนเนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ทำให้อัตราการตายลดลงผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยรวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุจึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพาไม้สามารถช่วยเหลือตังเองได้หรือช่วยเหลอตนเองได้น้อยหรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแลเกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุขผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต ตำบลพนมวังก์มีจำนวนผู้สูงอายุจำนวน 1,226คนกลุ่มติดสังคมจำนวน998คน ติดบ้าน 206 คน ติดเตียง 22คน คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ บางคนมีปัญหาทางด้านสุขภาพด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ด้านครอบครัว ด้านมาตรฐานการอยู่อาศัยทางชมรมผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการศูนย์ผู้สูงวัยใส่ใจสร้างเสริมสุขภาพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงปี 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ
  2. ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพดูแลสุขภาพตนเอง ดูแลผู้สูงอายุที่ขาดโอกาส เพื่อนช่วยเพื่อนได้
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพซึ่งกันและกัน
  4. ข้อที่ ๔ เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดประชุมแกนนำผู้สูงอายุ/คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุของหมู่บ้านจัดตั้งคณะกรรมการ
  2. 2. ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ -ตรวจคัดกรองสุขภาพ สุขภาพช่องปาก ภาวะซึมเศร้า -สาธิตออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ไม้พลอง รำวงมาตรฐาน
  3. 3.สาธิตการปรุงอาหารผักพื้นบ้าน การทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร การทำบัญชีครัวเรือน การออมเงิน
  4. ๔.เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ปฏิบัติธรรมที่วัดวันพระ
  5. ๕.จัดกิจกรรม จักรสาน น้ำยาเอนกประสงค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง 2. ผู้สูงอายุมีการปรับตัวได้ดีขึ้น สนใจเข้ากลุ่มร่วมกิจกรรมในชมรมอย่างต่อเนื่อง 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง 4..เกิดความเข้าใจและสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้สูงอายุมีความรู้เพิ่มขึ้นและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย การลดความเครียดโดยการปลูกผักสวนครัวพื้นบ้าน การปลูกผักสมุนไพร ใช้เป็นอาหารและยา ปรุงอาหารกินเอง ร้อยละ ๕๐ ๒.ผู้สูงอายุปฏิบัติกิจทางศาสนา ประเพณีในชุมชน เดือนละ ๑ ครั้ง ๓. ผู้สูงอายุทำกิจกรรมร่วมกัน ส่งเสริมการทำขนมไทย เย็บปักถักร้อย จักรสาน การทำของใช้สมุนไพร เดือนละ ๑ ครั้ง
0.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพดูแลสุขภาพตนเอง ดูแลผู้สูงอายุที่ขาดโอกาส เพื่อนช่วยเพื่อนได้
ตัวชี้วัด : 2. แกนนำผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ เยี่ยมบ้านดูแลให้กำลังใจ ช่วยเหลือเพื่อนผู้สูงอายุที่ขาดโอกาส เดือนละ ๑ ครั้ง โดยทีมระดับหมู่บ้าน ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพซึ่งกันและกัน
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ ๘๐
0.00

 

4 ข้อที่ ๔ เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ๔. เดือนละ ๑ ครั้ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ (2) ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพดูแลสุขภาพตนเอง ดูแลผู้สูงอายุที่ขาดโอกาส เพื่อนช่วยเพื่อนได้ (3) ข้อที่ 3  เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพซึ่งกันและกัน (4) ข้อที่ ๔ เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดประชุมแกนนำผู้สูงอายุ/คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุของหมู่บ้านจัดตั้งคณะกรรมการ (2) 2. ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ -ตรวจคัดกรองสุขภาพ  สุขภาพช่องปาก  ภาวะซึมเศร้า  -สาธิตออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ไม้พลอง  รำวงมาตรฐาน (3) 3.สาธิตการปรุงอาหารผักพื้นบ้าน  การทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร  การทำบัญชีครัวเรือน  การออมเงิน  (4) ๔.เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ  ปฏิบัติธรรมที่วัดวันพระ (5) ๕.จัดกิจกรรม จักรสาน น้ำยาเอนกประสงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลพนมวังก์ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางขวัญใจหาญณรงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด