โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิอาซีซะห์ เจ๊ะอาลี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส
ชื่อโครงการ โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑
ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2535-1-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2535-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,715.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากปัญหาสาธารณสุขไทยได้เปลี่ยนไปตามการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จากสังคมเกษตรสู่สังคมอุตสาหกรรม ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชน เช่น การบริโภคเปลี่ยนไป มีวิถีชีวิตที่เร่งรีบออกกำลังกายน้อยลง และมีความเครียดเพิ่มขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อที่กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น จากสถิติปัญหาสาธารณสุขไทย มีอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้น ๕ อันดับแรก ของผู้ป่วยที่มารักษาในโรงพยาบาลล้วนเป็นโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด อุบัติเหตุ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
กองสุขศึกษา กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายในการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ โดยส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านเป้าหมายมีความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๒ ด้าน คือ พฤติกรรมการออกกำลังกายโดยการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วันๆละอย่างน้อย ๓๐ นาที และพฤติกรรมการกินผัก ผลไม้สด และลดอาหารมัน ประกอบกับนโยบายหลักประกันสุขภาพ ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายสำคัญ คือ สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช่จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว
จากข้อมูลผลลัพธ์ในการดูแลด้านสุขภาพของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ พบอัตราการเพิ่มขึ้นทั้งในกลุ่มที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูง และเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งอ้างอิงจากผลตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพเชิงรุกปีงบประมณ ๒๕๕๙ และ ปี ๒๕๖๐ ในกลุ่มประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน พบกลุ่มเสี่ยงต่อเบาหวานเพิ่มมากขึ้นจาก ร้อยละ ๓.๓๖ เป็นร้อยละ ๓.๙๙ เสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ ๔๒.๑๑ เป็น ร้อยละ ๔๖.๘๗ พบผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นจาก ๐.๑๕ เป็น ร้อยละ ๑.๑๒ ส่วนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ ๐.๓๒ เป็นร้อยละ ๓.๔๗ ในปี ๒๕๕๙ และ๒๕๖๐ ตามลำดับ
นอกจากนี้ยังพบข้อมูลจากการดูแลสุขภาพของกลุ่มป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น โดยในปี ๒๕๖๐ มีกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ๒๔๒ คน รับการรักษาต่อเนื่องและสามารถติดตามได้ผลการรักษาได้ ๒๐๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๐๕ คน และในจำนวนนี้สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๓๖ และมีภาวะแทรกซ้อนแล้วจำนวน ๑๕๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๕.๗๐ ส่วนกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๖๑๔ คน รับการรักษาต่อเนื่องและสามารถติดตามได้ ๔๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๕๒ และในจำนวนนี้สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ๒๐๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๓๔ และมีภาวะแทรกซ้อนแล้วจำนวน ๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๕ ซึงเป็นผลอันเนื่องมาจากการความล้มเหลวในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูง รวมทั้งจากความเสื่อมของร่างกายและภาวะความเป็นไปของโรค ที่จำเป็นต้องได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ทั้งทางตาหัวใจและหลอดเลือด ทางไต และทางเท้า เพื่อการรักษาและดูแลตนเองของผู้ป่วยให้ทันท่วงที อนึ่ง พฤติกรรมการดูแลตนเองที่ไม่เหมาะสมก็สามารถส่งผลต่อการดูแลรักษาก็ส่งผลต่อการดำเนินของโรค ดังนั้นสิ่งสำคัญคือ การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วย สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม ครอบครัว ชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแบบยั่งยืน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา จึงได้จัดทำ โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ ขึ้นโดยเน้นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองในกลุ่มเสี่ยงและการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่มเป้าหมายรู้เท่าทันโรคและมีความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ติดต่อที่สามารถป้องกันได้
๒. กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๓. มีแกนนำ/คนต้นแบบในการดูแลตนเองในกลุ่มป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสุขภาพในชุมชน
๔. พื้นที่ตำบลปาเสมัสสามารถควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2535-1-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนิอาซีซะห์ เจ๊ะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิอาซีซะห์ เจ๊ะอาลี
ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2535-1-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2535-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,715.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากปัญหาสาธารณสุขไทยได้เปลี่ยนไปตามการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จากสังคมเกษตรสู่สังคมอุตสาหกรรม ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชน เช่น การบริโภคเปลี่ยนไป มีวิถีชีวิตที่เร่งรีบออกกำลังกายน้อยลง และมีความเครียดเพิ่มขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อที่กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น จากสถิติปัญหาสาธารณสุขไทย มีอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้น ๕ อันดับแรก ของผู้ป่วยที่มารักษาในโรงพยาบาลล้วนเป็นโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด อุบัติเหตุ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง กองสุขศึกษา กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายในการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ โดยส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านเป้าหมายมีความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๒ ด้าน คือ พฤติกรรมการออกกำลังกายโดยการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วันๆละอย่างน้อย ๓๐ นาที และพฤติกรรมการกินผัก ผลไม้สด และลดอาหารมัน ประกอบกับนโยบายหลักประกันสุขภาพ ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายสำคัญ คือ สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช่จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว จากข้อมูลผลลัพธ์ในการดูแลด้านสุขภาพของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ พบอัตราการเพิ่มขึ้นทั้งในกลุ่มที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูง และเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งอ้างอิงจากผลตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพเชิงรุกปีงบประมณ ๒๕๕๙ และ ปี ๒๕๖๐ ในกลุ่มประชาชนที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน พบกลุ่มเสี่ยงต่อเบาหวานเพิ่มมากขึ้นจาก ร้อยละ ๓.๓๖ เป็นร้อยละ ๓.๙๙ เสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ ๔๒.๑๑ เป็น ร้อยละ ๔๖.๘๗ พบผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นจาก ๐.๑๕ เป็น ร้อยละ ๑.๑๒ ส่วนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ ๐.๓๒ เป็นร้อยละ ๓.๔๗ ในปี ๒๕๕๙ และ๒๕๖๐ ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบข้อมูลจากการดูแลสุขภาพของกลุ่มป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น โดยในปี ๒๕๖๐ มีกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ๒๔๒ คน รับการรักษาต่อเนื่องและสามารถติดตามได้ผลการรักษาได้ ๒๐๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๐๕ คน และในจำนวนนี้สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๓๖ และมีภาวะแทรกซ้อนแล้วจำนวน ๑๕๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๕.๗๐ ส่วนกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๖๑๔ คน รับการรักษาต่อเนื่องและสามารถติดตามได้ ๔๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๕๒ และในจำนวนนี้สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ๒๐๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๓๔ และมีภาวะแทรกซ้อนแล้วจำนวน ๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๓๕ ซึงเป็นผลอันเนื่องมาจากการความล้มเหลวในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูง รวมทั้งจากความเสื่อมของร่างกายและภาวะความเป็นไปของโรค ที่จำเป็นต้องได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ทั้งทางตาหัวใจและหลอดเลือด ทางไต และทางเท้า เพื่อการรักษาและดูแลตนเองของผู้ป่วยให้ทันท่วงที อนึ่ง พฤติกรรมการดูแลตนเองที่ไม่เหมาะสมก็สามารถส่งผลต่อการดูแลรักษาก็ส่งผลต่อการดำเนินของโรค ดังนั้นสิ่งสำคัญคือ การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วย สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม ครอบครัว ชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแบบยั่งยืน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา จึงได้จัดทำ โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ ขึ้นโดยเน้นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองในกลุ่มเสี่ยงและการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่มเป้าหมายรู้เท่าทันโรคและมีความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ติดต่อที่สามารถป้องกันได้ ๒. กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๓. มีแกนนำ/คนต้นแบบในการดูแลตนเองในกลุ่มป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสุขภาพในชุมชน ๔. พื้นที่ตำบลปาเสมัสสามารถควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2535-1-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนิอาซีซะห์ เจ๊ะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......