กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการ ๔ ดี หมู่บ้านยุคใหม่ ใส่ใจ ลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็มผัก ผลไม้ ๒๕๖๑ ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิอาซีซะ เจ๊ะอาลี

ชื่อโครงการ โครงการ ๔ ดี หมู่บ้านยุคใหม่ ใส่ใจ ลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็มผัก ผลไม้ ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2535-1-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ๔ ดี หมู่บ้านยุคใหม่ ใส่ใจ ลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็มผัก ผลไม้ ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ๔ ดี หมู่บ้านยุคใหม่ ใส่ใจ ลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็มผัก ผลไม้ ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ๔ ดี หมู่บ้านยุคใหม่ ใส่ใจ ลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็มผัก ผลไม้ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2535-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยภาวะที่เร่งรีบจากกระแสการพัฒนาในยุคปัจจุบัน ภาวะการเติบโตทางเศรษฐกิจของลัทธิวัตถุนิยม ที่มุ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาทางด้านวัตถุ เอาเงินเป็นตัวตั้ง การดำเนินธุรกิจที่ขาดความรับผิดชอบ ผู้ผลิตไม่ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบและคุณค่าทางโภชนาการ ทำให้ประชาชนมีวิถีการดำรงชีวิตที่เร่งรีบ เกิดค่านิยม วัฒนาธรรม และวิถีการดำเนินชีวิตที่ไม่เพียงพอ ขาดความสมดุล ทำให้ประชาชนขาดการเอาใส่ใจดูแล ควบคุม และป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมและฟุ่มเฟือย นิยมบริโภคอาหารขยะหรือจั๊งค์ฟู้ด (Junk Food) ที่มีส่วนประกอบหลัก ซึ่งประกอบด้วยแป้ง น้ำตาล น้ำมัน ไขมัน ผงชูรส และเกลือมากขึ้น แต่มีสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสติปัญญาอยู่ในปริมาณน้อยมาก ได้แก่ อาหารประเภทฟาสต์ฟูด อาหารสำเร็จรูปอาหารจานด่วน อาหารทอด อาหารขบเคี้ยว ลูกอม หมากฝรั่ง ขนมหวาน น้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวาน เป็นต้น โดยสามารถหาซื้อได้ง่าย สะดวก มีการแข่งขันทางการตลาดและมีการลงทุนโฆษณาสูงมาก (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๓) ส่วนการประกอบอาหารกินเองที่บ้าน และการปลูกผักไว้กินเองมีลดน้อยลง ซึ่งพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่รับประทานอาหารประเภทผักและผลไม้น้อยลงขาดการออกกำลังกาย มีภาวะความเครียดเรื้อรัง ไม่สามารถจัดการอารมณ์ได้ มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มากขึ้น (ไพจิตร์วราชิต. ออนไลน์ ,๑ มีนาคม ๒๕๕๕) จากพฤติกรรมการบริโภคที่เกินจำเป็นขาดความสมดุลของพลังงานเข้าและออกในร่างกาย จึงไม่สามารถควบคุมน้ำหนักที่เหมาะสมได้ ทำให้เกิดภาวะโภชนาการเกิน มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐาน หรือเป็นโรคอ้วนอันมีสาเหตุจากความนิยมบริโภคที่เน้นความอร่อยตามใจชอบมากกว่าคุณภาพและคุณค่าทางโภชนาการ ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือที่เรียกว่า "โรควิถีชีวิต" ที่สามารถป้องกันได้และมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ไปทั่วโลก โดยเฉพาะ ๕ โรควิถีชีวิตที่สำคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง (ไพจิตร์วราชิต. ออนไลน์ ,๑ มีนาคม ๒๕๕๕) โดยพบว่า มีผู้เสียชีวิตจาก ๕ โรคดังกล่าวปีละ ๙๗,๙๐๐ คน หรือประมาณ ๑ ใน ๓ ของผู้เสียชีวิตทั้งหมดที่มีปีละประมาณ ๓ แสนคน เฉลี่ยชั่วโมงละ ๑๑ คน โดย ๒ ใน ๓ มีอายุน้อยกว่า ๖๐ ปี และในรอบ ๕ ปี ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๙ ๒๕๕๓ มีผู้ป่วยจาก ๕ โรควิถีชีวิตดังกล่าว เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลสูงขึ้นเกือบ ๒ เท่า (โสภณ เมฆธน. ออนไลน์ ,๑ มีนาคม ๒๕๕๕) โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาทีพบบ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคเรื้อรังซึ่งเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ พฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคอาหาร การสูบบุรี่ การดื่มสุรา การที่ไม่ออกกำลังกาย ความเครียด โรคอ้วน โรคเรื้อรังดังกล่าวโรคที่ต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูง ถ้าไม่ได้รับการดูแลอาจเกิดภาระแทรกซ้อน และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีแนวโน้มจะสูงขึ้น และคาดว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี จึงได้เห็นความสำคัญของโรคเรื้อรังดังกล่าว และจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ รวมถึงผู้ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง และกลุ่มเสี่ยง สนใจดูแลสุขภาพของตยเอง โดยตระหนักถึงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งทีมงานเพื่อเป็นแกนนำการขับเคลื่อนโดยการจัดประชุม
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดทำเวทีประชาคมเพื่อกำหนดกติกาหมู่บ้านและประกาศใช้ในหมู่บ้าน
  3. กิจกรรมที่ 3 ประเมินภาวะสุขภาพประชาชนที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป
  4. กิจกรรมที่ 4 พัฒนาร้านอาหารตามแนวทาง หมู่บ้านลด หวาน มัน เค็มเติมผัก ผลไม้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,390
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ๒. เกิดคนต้นแบบและหมู่บ้านต้นแบบในการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและถูกต้อง ๓. อัตราการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง ๔. ผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังไม่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งทีมงานเพื่อเป็นแกนนำการขับเคลื่อนโดยการจัดประชุม

วันที่ 17 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับการประชุม จำนวน 20 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท
        เป็นเงิน 1,500  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

20 0

2. กิจกรรมที่ 2 จัดทำเวทีประชาคมเพื่อกำหนดกติกาหมู่บ้านและประกาศใช้ในหมู่บ้าน

วันที่ 21 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมการเวทีทำประชาคม จำนวน 80 คน จำนวน 1 มื้อๆละ
      25 บาท
  • ค่ากระดาษชาร์ต (กระดาษซาลาเปา) จำนวน 5 แผ่นๆละ 5 บาท เป็นเงิน 25 บาท
  • ค่าปากกาเคมี 2 หัว จำนวน 3 ด้ามๆละ 15 บาท เป็นเงิน 45 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

80 0

3. กิจกรรมที่ 3 ประเมินภาวะสุขภาพประชาชนที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป

วันที่ 22 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าถ่ายเอกสารการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 1,290 ชุดๆละ 5 แผ่น จำนวน 6,450 แผ่นๆละ 0.50 บาท เป็นเงิน 3,225 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

0 0

4. กิจกรรมที่ 4 พัฒนาร้านอาหารตามแนวทาง หมู่บ้านลด หวาน มัน เค็มเติมผัก ผลไม้

วันที่ 22 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

4.1 ตรวจประเมินร้านอาหารและแผงลอย จำนวน 10 ร้าน ตามหลักการอาหาร ลด หวาน มันเค็มก่อนอบรมให้ความรู้
  - ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินร้านอาหาร จำนวน 10 ชุดๆละ 10 แผ่น จำนวน 100 แผ่นๆละ 0.50 บาท เป็นเงิน 50 บาท   - ค่าเครื่องตรวจวัดปริมาณเกลือในอาหาร จำนวน 1 เครื่องๆละ 1,890 บาท เป็นเงิน 1,890 บาท   - ค่าเครื่องตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในอาหาร จำนวน 1 เครื่องๆละ 2,700 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท 5.2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1390
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,390
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งทีมงานเพื่อเป็นแกนนำการขับเคลื่อนโดยการจัดประชุม (2) กิจกรรมที่ 2 จัดทำเวทีประชาคมเพื่อกำหนดกติกาหมู่บ้านและประกาศใช้ในหมู่บ้าน (3) กิจกรรมที่ 3  ประเมินภาวะสุขภาพประชาชนที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป (4) กิจกรรมที่ 4 พัฒนาร้านอาหารตามแนวทาง หมู่บ้านลด หวาน มัน เค็มเติมผัก ผลไม้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ๔ ดี หมู่บ้านยุคใหม่ ใส่ใจ ลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็มผัก ผลไม้ ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2535-1-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิอาซีซะ เจ๊ะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด