กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน


“ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปี 2561 ”

ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอร่าม อามีเราะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2481-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2481-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีนโยบายในการสร้างสุขภาพนำซ่อมเพื่อแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง โดยเน้นการคัดกรอง สุขภาพ จากรายงานการสำรวจสุขภาพของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ในปีพ.ศ. 2551 - 2552 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง ร้อยละ 21.5 เบาหวาน ร้อยละ 6.9 (วิชัย เอกพลากร, 2553) และในกลุ่มผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงชาย ร้อยละ 60 และหญิงร้อยละ 40 ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงมาก่อน ในขณะที่ 1 ใน 3 ของผู้ที่เป็น เบาหวาน ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน (วิชัย เอกพลากร, 2553) จากสถิติที่กล่าวมาข้างต้นของผู้ที่เป็นโรคโดยไม่ได้รับการคัดกรองโรคและไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคมาก่อน ยังมีจำนวนมากซึ่งบ่งชี้ถึงปัญหาของการคัดกรองที่ไม่ครอบคลุม ทำให้ประชาชนขาดโอกาสในการได้รับการคัดกรอง และการเฝ้าระวังโรค การได้รับคำแนะนำในการป้องกันโรค รวมถึงปัญหาในกลุ่มผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับการรักษา ซึ่งเป็นปัญหาด้านการควบคุมโรค การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคและการลดอัตราการตาย กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน โดยนายแพทย์วิชัย เทียนถาวร (2556) ได้ประยุกต์ กระบวนการสร้างสุขภาพสู่งานสาธารณสุข มูลฐานนำมาสู่การพัฒนาการเฝ้าระวัง คัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน โดยใช้ “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี” มาเป็นเครื่องมือในการเฝ้าระวัง ทุกเดือน ในประชากรกลุ่มเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรค และภาวะแทรกซ้อน นอกจากนี้ยังมีนโยบายจัดกิจกรรม 3 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และกิจกรรม 2 ส. คือ สุรา และบุหรี่ เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดี และลดอุบัติการณ์การเกิดโรค ปี 2560 มีประชาชนที่อายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบรพ.สต.เกาะสะท้อน จำนวน 1584 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง จำนวนทั้งหมด 1,570 คน คิดเป็นร้อยละ 99.11 พบประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 338 คน คิดเป็นร้อยละ 21.52 ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 147 คน คิดเป็นร้อยละ 9.36 เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 13.82 ป่วยเป็นโรคเบาหวาน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 1.21 และกลุ่มป่วยทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 5.66 เพื่อเป็นการดูแลผู้ป่วยและป้องกันโรคในกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง จึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วย 3 อ. 2 ส. ได้แก่ การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการเกี่ยวกับอารมณ์ และการลดการสูบบุหรี่ สิ่งมึนเมา อันจะส่งผลดีต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง /เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมวางแผนการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
  3. กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,570
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 3.กลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง /เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองฯ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1770
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,570
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง /เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมวางแผนการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย (3) กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข (4) ประชาสัมพันธ์โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2481-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอร่าม อามีเราะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด