กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลมูลฝอยได้อย่างเหมาะสมกับชุมชนที่ควรจะเป็น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อชุมชนและชาวบ้านให้ความร่วมมือมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมการจัดการขยะในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนบ้านหัวควน สะอาดขึ้น ลดปริมาณขยะที่ทิ้งในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ประชาชนนำขยะวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นสิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือน จากขยะรีไซเคิล
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อประชาชนบ้านหัวควน มีสุขภาพดีขึ้น มีความปลอดภัยจากภัยที่เกิดจากขยะ เช่น เศษแก้วบาด เชื้อโรคที่มาจากขยะรวมถึงชาวบ้านไม่เป็นไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 เพื่อประชาชนมีการจัดการขยะรักษาสิ่งแวดล้อมที่เป็นระบบและมีความตระหนักในการจัดการขยะในชุมชนของตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลมูลฝอยได้อย่างเหมาะสมกับชุมชนที่ควรจะเป็น (2) เพื่อชุมชนและชาวบ้านให้ความร่วมมือมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมการจัดการขยะในหมู่บ้าน  (3) เพื่อทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนบ้านหัวควน สะอาดขึ้น ลดปริมาณขยะที่ทิ้งในชุมชน (4) เพื่อให้ประชาชนนำขยะวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นสิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือน จากขยะรีไซเคิล  (5) เพื่อประชาชนบ้านหัวควน มีสุขภาพดีขึ้น มีความปลอดภัยจากภัยที่เกิดจากขยะ เช่น เศษแก้วบาด เชื้อโรคที่มาจากขยะรวมถึงชาวบ้านไม่เป็นไข้เลือดออก (6) เพื่อประชาชนมีการจัดการขยะรักษาสิ่งแวดล้อมที่เป็นระบบและมีความตระหนักในการจัดการขยะในชุมชนของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อมการคัดแยกขยะในครัวเรือน  (2) จัดฝึกอบรมตัวแทนสมาชิกครัวเรือนเพื่อเป็นแกนนำและเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะและคัดแยกขยะในครัวเรือนและชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh