โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7889-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7889-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,172.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพเป็นภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณที่บุคคลรับรู้ได้ว่าตนมีความสุข ปราศจากความเครียดหรือแรงกดดันใดๆ สุขภาพจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนาแต่อย่างไรก็ตามภาวะสุขภาพเป็นกระบวนการพลวัตที่ไม่หยุดนิ่ง จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนอยู่ตลอดเวลาและอย่างต่อเนื่องบุคคลจึงต้องพยายามหาวิธีการที่จะปกป้องสุขภาพเพื่อไม่ให้เกิดภาวะเจ็บป่วยหรือถึงแม้ว่าจะเกิดภาวะเจ็บป่วยขึ้นบุคคลจะต้องพยายามดูแลรักษาเพื่อให้ร่างกายกลับสู่สภาวะปกติให้เร็วที่สุด วิธีการสำคัญที่บุคคลใช้ปกป้องสุขภาพนั้น คือการมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ การมีสุขภาพดีจึงเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนและเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการพัฒนาประเทศเนื่องจากเมื่อประชาชนมีสุขภาพที่ดี สามารถประกอบอาชีพและปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลิตผลเพิ่มขึ้น เพิ่มโอกาสที่จะมีรายได้และชีวิตการทำงานที่ยืนยาว การลาหยุดงานและการลาป่วยน้อยลง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพจึงมีความสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในปัจจุบัน
จากข้อมูลสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา(ข้อมูล ณ วันที่ 11 พฤษภาคม 2561) ตามที่ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองในปี 2560 มีกลุ่มเป้าหมายประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ทั้งหมด 1,403 คน
มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 174 คน ได้รับการปรับเปลี่ยน 129 หรือร้อยละ 74.14 และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 1,229 คน ได้รับการปรับเปลี่ยน 580 หรือร้อยละ 47.19
และจากการคำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและความดัน
โลหิตสูง ปี 2560 พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในกลุ่มปกติได้
ร้อยละ 65 และกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในกลุ่มปกติได้
ร้อยละ 71.16 ซึ่งเห็นได้จากการสรุปผลการอบรมพบว่า กลุ่มเสี่ยงยังขาดความตระหนัก ไม่ให้ความสำคัญในการควบคุมอาหาร และการออกกำลังกาย ทำให้ขาดความต่อเนื่องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
จึงเห็นควรจัดโครงการต่อเนื่องดังนั้นในปี 2561 การอบรมกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจึงเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีเพื่อจะได้ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 1 แผ่น (ขนาด 2.4 x 1.3 ตรม.)
- ค่าแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด แผ่น strip กล่องละ 1,400 x 1 กล่อง
- ค่าเข็มเจาะ ( 1 กล่องราคา 870 บาท มี 200 ชิ้น ) X 1 กล่อง
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 2 มื้อ x 1 วัน
- ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 60 คน x 1 มื้อX 1 วัน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 1)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 2)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 3)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
2 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
3 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
90.00
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
50.00
3
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงร้อยละ 10
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 1 แผ่น (ขนาด 2.4 x 1.3 ตรม.) (2) ค่าแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด แผ่น strip กล่องละ 1,400 x 1 กล่อง (3) ค่าเข็มเจาะ ( 1 กล่องราคา 870 บาท มี 200 ชิ้น ) X 1 กล่อง (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 2 มื้อ x 1 วัน (5) ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 60 คน x 1 มื้อX 1 วัน (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 1) (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 2) (8) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 3)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7889-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7889-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7889-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,172.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพเป็นภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณที่บุคคลรับรู้ได้ว่าตนมีความสุข ปราศจากความเครียดหรือแรงกดดันใดๆ สุขภาพจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนาแต่อย่างไรก็ตามภาวะสุขภาพเป็นกระบวนการพลวัตที่ไม่หยุดนิ่ง จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนอยู่ตลอดเวลาและอย่างต่อเนื่องบุคคลจึงต้องพยายามหาวิธีการที่จะปกป้องสุขภาพเพื่อไม่ให้เกิดภาวะเจ็บป่วยหรือถึงแม้ว่าจะเกิดภาวะเจ็บป่วยขึ้นบุคคลจะต้องพยายามดูแลรักษาเพื่อให้ร่างกายกลับสู่สภาวะปกติให้เร็วที่สุด วิธีการสำคัญที่บุคคลใช้ปกป้องสุขภาพนั้น คือการมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ การมีสุขภาพดีจึงเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนและเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการพัฒนาประเทศเนื่องจากเมื่อประชาชนมีสุขภาพที่ดี สามารถประกอบอาชีพและปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลิตผลเพิ่มขึ้น เพิ่มโอกาสที่จะมีรายได้และชีวิตการทำงานที่ยืนยาว การลาหยุดงานและการลาป่วยน้อยลง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพจึงมีความสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในปัจจุบัน จากข้อมูลสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา(ข้อมูล ณ วันที่ 11 พฤษภาคม 2561) ตามที่ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองในปี 2560 มีกลุ่มเป้าหมายประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ทั้งหมด 1,403 คน มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 174 คน ได้รับการปรับเปลี่ยน 129 หรือร้อยละ 74.14 และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 1,229 คน ได้รับการปรับเปลี่ยน 580 หรือร้อยละ 47.19 และจากการคำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและความดัน โลหิตสูง ปี 2560 พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในกลุ่มปกติได้ ร้อยละ 65 และกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในกลุ่มปกติได้ ร้อยละ 71.16 ซึ่งเห็นได้จากการสรุปผลการอบรมพบว่า กลุ่มเสี่ยงยังขาดความตระหนัก ไม่ให้ความสำคัญในการควบคุมอาหาร และการออกกำลังกาย ทำให้ขาดความต่อเนื่องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จึงเห็นควรจัดโครงการต่อเนื่องดังนั้นในปี 2561 การอบรมกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจึงเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีเพื่อจะได้ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 1 แผ่น (ขนาด 2.4 x 1.3 ตรม.)
- ค่าแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด แผ่น strip กล่องละ 1,400 x 1 กล่อง
- ค่าเข็มเจาะ ( 1 กล่องราคา 870 บาท มี 200 ชิ้น ) X 1 กล่อง
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 2 มื้อ x 1 วัน
- ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 60 คน x 1 มื้อX 1 วัน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 1)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 2)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 3)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
2 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
3 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง |
90.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง |
50.00 |
|
||
3 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50 ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงร้อยละ 10 |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 50
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 1 แผ่น (ขนาด 2.4 x 1.3 ตรม.) (2) ค่าแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด แผ่น strip กล่องละ 1,400 x 1 กล่อง (3) ค่าเข็มเจาะ ( 1 กล่องราคา 870 บาท มี 200 ชิ้น ) X 1 กล่อง (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 2 มื้อ x 1 วัน (5) ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 60 คน x 1 มื้อX 1 วัน (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 1) (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 2) (8) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท X 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน (ติดตามครั้งที่ 3)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมใจ ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7889-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......