กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อแม่)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางรุชฎาบุญลาภ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อแม่)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L7580-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2561 ถึง 15 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อแม่)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อแม่)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อแม่)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L7580-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2561 - 15 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,043.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผลของการจัดโครงการเมื่อครั้งที่แล้วผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย มีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยและผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรคสำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัย เด็กปฐมวัย เป็นวัยที อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ชอบเลียนแบบ ช่างจดจำ และเป็นวัยที่เริ่ม ช่วยเหลือตนเองได้ ความต้านทานโรคต่ำ ซึ่งสามารถที่จะติดเชื้อต่างๆได้ง่าย อีกเป็นวัยที่ซุกซน การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กเติบโตสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ ทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ-อารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา และในช่วง 6 ปีแรกของชีวิตจะมีผลต่อการวางรากฐานที่สำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยดังนั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา วิธีการและรูปแบบที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญยิ่ง ในการจัดการศึกษาปฐมวัยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง พ่อ แม่ และผู้ใกล้ชิดเด็กเป็นผู้ช่วยเหลือให้เด็กมีพัฒนาการและเตรียมความพร้อมอย่างเหมาะสม ซึ่งการดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ให้บรรลุเป้าหมายต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการอบรมเลี้ยงดู การดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตที่ถูกต้อง เรื่องการดูแลรักษาเอาใจใส่ลูกให้มีสุขถาพอนามัยที่ดี และ ปัญหาสุขภาพและโรคที่เกิดบ่อยๆในเด็ก สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค อาการของโรค เพื่อการปฏิบัติดูแล เอาใจใส่บุตรหลานอย่างถูกต้อง เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคที่ถูกวิธี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ได้ตระหนักและมองเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น หากไม่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขเร่งด่วน จะส่งผลต่อพัฒนาการทั้งในด้านสมอง ร่างกายและจิตใจของ เด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ จึงได้ร่วมมือกับผู้ปกครอง จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เพื่อเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง ในการป้องกัน เฝ้าระวัง รักษาสุขภาพ บุตรหลาน ของตนเองได้อย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์มีคุณภาพ ทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ-อารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาที่ดี สมวัย ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพของเด็กในช่วงปฐมวัยในเรื่องการแปรงฟันพัฒนาการเด็กโภชนาการและโรคติดต่อ
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคักเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 149
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพ ของเด็กในช่วงปฐมวัย ในเรื่อง การแปรงฟัน พัฒนาการเด็กโภชนาการและโรคติดต่อ
  2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  3. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคักเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้

4.ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน

วันที่ 25 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมฐานเรียนรู้ 4 ฐาน 1ฐานฟัน 2ฐานพัฒนาการ 3ฐานโภชนาการ 4ฐานโรคติดต่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองนักเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพ ของเด็กในช่วงปฐมวัย ในเรื่อง การแปรงฟัน พัฒนาการเด็กโภชนาการและโรคติดต่อโดยการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องการแปรงฟัน พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ โดยใช้เกณฑ์แปลผลดังนี้

  1. ระดับคะแนน 9-10 แปลผลว่า มากที่สุด
  2. ระดับคะแนน 7-8 แปลผลว่า มาก
  3. ระดับคะแนน 5-6  แปลผลว่า ปานกลาง
  4. ระดับคะแนน 3-4 แปลผลว่า น้อย
  5. ระดับคะแนน 1-2 แปลผลว่า น้อยที่สุด ตารางการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม การแปลผล ทดสอบความรู้ ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ มากที่สุด 0 0 58 38.92 มาก 6 4.02 56 37.58 ปานกลาง 67 44.96 30 20.13 น้อย 60 40.26 5 3.35 น้อยที่สุด 15 10.06 0 0 รวม 149 100 149 100

    จากตารางการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม ผู้ปกครองนักเรียนความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.02 ระดับปานกลาง จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ44.96 ระดับน้อยจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ40.26 ระดับน้อยที่สุดจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ10.06หลังการอบรม ระดับมากที่สุด จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ38.92ระดับมาก จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 4.02 ระดับปานกลาง จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 44.96 ระดับน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 40.26


    -2-ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 8 3 2.01 10 28 18.79 7 3 2.01 9 30 20.13 6 60 40.26 8 39 26.17 5 7 4.69 7 17 11.40 4 32 21.47 6 15 10.06 3 28 18.79 5 15 10.06 2 8 5.36 4 4 2.68 1 7 4.69 3 1 0.67
    จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม ผู้ปกครองนักเรียนได้คะแนนสูงสุดที่ 8 จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ2.01รองลงมา 7 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.01 คะแนนน้อยที่สุด 1 คะแนน จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ4.69 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 6 คะแนน จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ40.26 หลังการอบรมผู้ปกครองนักเรียนได้คะแนนสูงสุดที่ 10 จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 18.79รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 20.13คะแนนน้อยที่สุด 1 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.67และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 8 คะแนน จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 26.17 นอกจากนี้การประเมินความรู้ก่อน-หลัง แล้ว ผู้ปกครองนักเรียนได้แบ่งกลุ่มลงมือการปฏิบัติในเรื่องการแปรงฟัน พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ เช่นการแปรงฟันให้ถูกวิธี การย้อมสีฟัน  การประเมินพัฒนาการเด็กตามแบบประเมินคู่มือเฝ้าระวังและการสาธิตเมนูอาหารบำรุงสมองเด็กปฐมวัย และการสังเกตอาการเบื้องต้นและการรักษาโรคติดต่อ ครบถ้วนทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 จึงสามารถสรุปได้ว่าผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้การแปรงฟัน พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อคิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1

1.2 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การวัดและการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ทั้งนี้เนื่องจากผู้ปกครองจะได้รู้ล่วงหน้าหากเด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการ และผู้ปกครองจะได้เตรียมการให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการตามวัย หากผู้ปกครองปล่อยไว้ไม่สนใจการวัดและการประเมินพัฒนาการเด็กก็อาจทำให้เด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการ และผู้ปกครองอาจไม่สามารถแก้ไขได้ทันท่วงทีการวัดพัฒนาการของเด็ก จะทำให้ทราบถึงความสมบูรณ์แข็งแรงของเด็กเพื่อให้ผู้ปกครองสามารถสนับสนุนและส่งเสริมเด็กได้อย่างเหมาะสมตรงตามความต้องการของเด็ก การวัดพัฒนาการของเด็กนั้นต้องรวมเอา -3-ทุกๆกิจกรรมที่จะสามารถแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความแข็งแรงและความต้องการของเด็กการประเมินพัฒนาการของเด็ก จัดทำขึ้นเพื่อตรวจสอบและวินิจฉัยถึงความล่าช้าของพัฒนาการ และเพื่อพัฒนากลยุทธ์ในการให้ความช่วยเหลือเด็ก เด็กที่ได้รับการสงสัยว่ามีพัฒนาการที่ล่าช้าจะได้รับการประเมินอย่างละเอียด การช่วย เหลือของผู้ปกครองในขั้นแรกนั้นเป็นกุญแจสำคัญที่จะช่วยให้เข้าถึงการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการของบุตรหลานตนเองที่บ้านได้อย่างถูกต้อง 1.3 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคักเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ การได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพ ผู้ปกครองจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับลูกในวัยระหว่าง 1-6 ปีหรือวัยก่อนเรียน เด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก 3 มื้อที่มีคุณค่าครบ 5 หมู่และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ 2 มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ 2-3 แก้วด้วย     โภชนาการที่เหมาะสมนับเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมพัฒนาการของลูกน้อย เพราะเด็กจะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งทางร่างกายและสมองโดยเฉพาะการเจริญเติบโตของสมองเป็นไปอย่างรวดเร็ว อาหารสำหรับเด็ก จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งในขณะที่อยู่ในวัยนี้ และระยะต่อไป การขาดอาหารในระยะนี้จะส่งผลให้เด็กมีสติปัญญาการเรียนรู้ด้อยลง การเจริญเติบโตชะงักทำให้ร่างกายแคระแกรน ไม่แข็งแรง เจ็บป่วย และติดเชื้อง่าย มีอัตราการเสียชีวิตสูงผู้ปกครองจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกอาหารอย่างถูกต้องและเพียงพอกับความต้องการตามวัยด้วย
1.4 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้ การป้องกันโรคที่ได้ผลดีและคุ้มค่าที่สุดคือการป้องกันในระยะก่อนได้รับเชื้อได้แก่การส่งเสริมสุขภาพการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยเด็กต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ทั้ง 3 มื้อมีน้ำดื่มและน้ำใช้ที่สะอาดเพียงพอได้รับการดูแลเรื่องสุขอนามัยส่วนบุคคลเน้นความสะอาดของที่อยู่อาศัยเครื่องใช้ส่วนตัวสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะสะอาดไม่แออัดอากาศถ่ายเทสะดวกและมีแสงแดดส่องถึงองค์ประกอบต่างๆเหล่านี้จะช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงมีพัฒนาการทางร่างกายและจิตใจเหมาะสมตามวัยเมื่อเกิดโรคขึ้นต้องป้องกันไม่ให้มีการแพร่กระจายของโรคนอกจากนี้ยังสามารถลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตได้โดยการตรวจคัดกรองแยกเด็กป่วยวินิจฉัยและรักษาอย่างรวดเร็วซึ่งผู้ปกครองสามารถสังเกตอาการ ดูแลรักษาเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง ามรู้ความเข้าใจในการการดูแลสุขภาพ ของเด็กปฐมวัย ในเรื่องการแปลงฟัน พัฒนาการเด็ก

 

149 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ส่วนที่ 3: แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ(สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงาน)

ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (โรงเรียนพ่อ แม่) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์

  1. ผลการดำเนินงาน

ผู้ปกครองนักเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 100

๑.๑ วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพ ของเด็กในช่วงปฐมวัย ในเรื่อง การแปรงฟัน พัฒนาการเด็กโภชนาการและโรคติดต่อโดยการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องการแปรงฟัน พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ โดยใช้เกณฑ์แปลผลดังนี้

  1. ระดับคะแนน 9-10 แปลผลว่า มากที่สุด
  2. ระดับคะแนน 7-8 แปลผลว่า มาก
  3. ระดับคะแนน 5-6  แปลผลว่า ปานกลาง
  4. ระดับคะแนน 3-4 แปลผลว่า น้อย
  5. ระดับคะแนน 1-2 แปลผลว่า น้อยที่สุด ตารางการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม การแปลผล ทดสอบความรู้ ก่อนการอบรม คิดเป็นร้อยละ หลังการอบรม คิดเป็นร้อยละ มากที่สุด 0 0 58 38.92 มาก 6 4.02 56 37.58 ปานกลาง 67 44.96 30 20.13 น้อย 60 40.26 5 3.35 น้อยที่สุด 15 10.06 0 0 รวม 149 100 149 100

    จากตารางการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม ผู้ปกครองนักเรียนความรู้อยู่ในระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.02 ระดับปานกลาง จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ44.96 ระดับน้อยจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ40.26 ระดับน้อยที่สุดจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ10.06หลังการอบรม ระดับมากที่สุด จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ38.92ระดับมาก จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 4.02 ระดับปานกลาง จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 44.96 ระดับน้อย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 40.26


    -2- ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 8 3 2.01 10 28 18.79 7 3 2.01 9 30 20.13 6 60 40.26 8 39 26.17 5 7 4.69 7 17 11.40 4 32 21.47 6 15 10.06 3 28 18.79 5 15 10.06 2 8 5.36 4 4 2.68 1 7 4.69 3 1 0.67
    จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม ผู้ปกครองนักเรียนได้คะแนนสูงสุดที่ 8 จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ2.01รองลงมา 7 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.01 คะแนนน้อยที่สุด 1 คะแนน จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ4.69 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 6 คะแนน จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ40.26 หลังการอบรมผู้ปกครองนักเรียนได้คะแนนสูงสุดที่ 10 จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 18.79รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 20.13คะแนนน้อยที่สุด 1 คะแนน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.67และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 8 คะแนน จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 26.17 นอกจากนี้การประเมินความรู้ก่อน-หลัง แล้ว ผู้ปกครองนักเรียนได้แบ่งกลุ่มลงมือการปฏิบัติในเรื่องการแปรงฟัน พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ เช่นการแปรงฟันให้ถูกวิธี การย้อมสีฟัน  การประเมินพัฒนาการเด็กตามแบบประเมินคู่มือเฝ้าระวังและการสาธิตเมนูอาหารบำรุงสมองเด็กปฐมวัย และการสังเกตอาการเบื้องต้นและการรักษาโรคติดต่อ ครบถ้วนทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 จึงสามารถสรุปได้ว่าผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้การแปรงฟัน พัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อคิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1

1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การวัดและการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ทั้งนี้เนื่องจากผู้ปกครองจะได้รู้ล่วงหน้าหากเด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการ และผู้ปกครองจะได้เตรียมการให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการตามวัย หากผู้ปกครองปล่อยไว้ไม่สนใจการวัดและการประเมินพัฒนาการเด็กก็อาจทำให้เด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการ และผู้ปกครองอาจไม่สามารถแก้ไขได้ทันท่วงทีการวัดพัฒนาการของเด็ก จะทำให้ทราบถึงความสมบูรณ์แข็งแรงของเด็กเพื่อให้ผู้ปกครองสามารถสนับสนุนและส่งเสริมเด็กได้อย่างเหมาะสมตรงตามความต้องการของเด็ก การวัดพัฒนาการของเด็กนั้นต้องรวมเอา


-3-

ทุกๆกิจกรรมที่จะสามารถแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความแข็งแรงและความ ต้องการของเด็กการประเมินพัฒนาการของเด็ก จัดทำขึ้นเพื่อตรวจสอบและวินิจฉัยถึงความล่าช้าของพัฒนาการ และเพื่อพัฒนากลยุทธ์ในการให้ความช่วยเหลือเด็ก เด็กที่ได้รับการสงสัยว่ามีพัฒนาการที่ล่าช้าจะ ได้รับการประเมินอย่างละเอียด การช่วย เหลือของผู้ปกครองในขั้นแรกนั้นเป็นกุญแจสำคัญที่จะช่วยให้เข้าถึงการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการของบุตรหลานตนเองที่บ้านได้อย่างถูกต้อง 1.3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคักเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ การได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพ ผู้ปกครองจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับลูกในวัยระหว่าง 1-6 ปีหรือวัยก่อนเรียน เด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก 3 มื้อที่มีคุณค่าครบ 5 หมู่และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ 2 มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ 2-3 แก้วด้วย     โภชนาการที่เหมาะสมนับเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมพัฒนาการของลูกน้อย เพราะเด็กจะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งทางร่างกายและสมองโดยเฉพาะการเจริญเติบโตของสมองเป็นไปอย่างรวดเร็ว อาหารสำหรับเด็ก จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งในขณะที่อยู่ในวัยนี้ และระยะต่อไป การขาดอาหารในระยะนี้จะส่งผลให้เด็กมีสติปัญญาการเรียนรู้ด้อยลง การเจริญเติบโตชะงักทำให้ร่างกายแคระแกรน ไม่แข็งแรง เจ็บป่วย และติดเชื้อง่าย มีอัตราการเสียชีวิตสูงผู้ปกครองจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกอาหารอย่างถูกต้องและเพียงพอกับความต้องการตามวัยด้วย
1.4 วัตถุประสงค์ข้อที่ 4เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้ การป้องกันโรคที่ได้ผลดีและคุ้มค่าที่สุดคือการป้องกันในระยะก่อนได้รับเชื้อได้แก่การส่งเสริมสุขภาพการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยเด็กต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ทั้ง 3 มื้อมีน้ำดื่มและน้ำใช้ที่สะอาดเพียงพอได้รับการดูแลเรื่องสุขอนามัยส่วนบุคคลเน้นความสะอาดของที่อยู่อาศัยเครื่องใช้ส่วนตัวสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะสะอาดไม่แออัดอากาศถ่ายเทสะดวกและมีแสงแดดส่องถึงองค์ประกอบต่างๆเหล่านี้จะช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงมีพัฒนาการทางร่างกายและจิตใจเหมาะสมตามวัยเมื่อเกิดโรคขึ้นต้องป้องกันไม่ให้มีการแพร่กระจายของโรคนอกจากนี้ยังสามารถลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตได้โดยการตรวจคัดกรองแยกเด็กป่วยวินิจฉัยและรักษาอย่างรวดเร็วซึ่งผู้ปกครองสามารถสังเกตอาการ ดูแลรักษาเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพของเด็กในช่วงปฐมวัยในเรื่องการแปรงฟันพัฒนาการเด็กโภชนาการและโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 90
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : แบบประเมินความรู้จากการอบรม
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคักเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้
ตัวชี้วัด : แบบประเมินความรู้จากการอบรม
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้
ตัวชี้วัด : แบบประเมินความรู้จากการอบรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 149 149
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 149 149
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพของเด็กในช่วงปฐมวัยในเรื่องการแปรงฟันพัฒนาการเด็กโภชนาการและโรคติดต่อ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ในการคักเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กถูกต้องตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ (4) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้นของโรคติดต่อชนิดต่างๆและสามารถป้องกันการเกิดโรค สำหรับพัฒนาการที่ดีในเด็กปฐมวัยได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อแม่)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์

รหัสโครงการ 61-L7580-3-02 ระยะเวลาโครงการ 15 กรกฎาคม 2561 - 15 สิงหาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(โรงเรียนพ่อแม่)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L7580-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรุชฎาบุญลาภ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด