กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางปรีดา แก้วละเอียด

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 25 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 25 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆของประเทศไทย คือมะเร็งทุกชนิดความดันโลหิตสูง/โรคหลอดเลือดสมองหลอดเลือดและโรคหัวใจมีอัตราตาย 101.88 ,49.62 ,38.48ต่อแสนประชากรตามลำดับ (ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติพ.ศ.2547)ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอแม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ สำรวจพฤติกรรมการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย พบว่าร้อยละ 36.6 ของประชากรอายุ 11 ปีขึ้นไป ที่มีการออกกำลังกายเพียงพอที่จะช่วยป้องกันโรคได้ สำหรับการรับประทานอาหารนั้นจากผลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยในปีพ.ศ.2551-2552 พบว่าทั้งหญิงและชาย รับประทานผักและผลไม้ เฉลี่ยเพียงวันละ 3.1 และ 3.0 ส่วนมาตรฐาน ตามลำดับ โดยมีความชุกของการรับประทานผักและ ผลไม้ปริมาณต่อวันเพียงพอตามข้อแนะนำ (รวม > 5 ส่วน มาตรฐานต่อวัน) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการปฏิบัติจริง 2 กระบวนการได้แก่ 1. การออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย30 นาที2. การรับประทานผักและผลไม้สด วันละครึ่งกิโลกรัม หรือรับประทานผักในปริมาณครึ่งหนึ่งของอาหารแต่ละมื้อ และลดการรับประทานอาหารไขมันจะสามารถทำให้ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ถึงร้อยละ20-30โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดก็ลดลงมากเช่นกันทั้งการออกกำลังกายและการปลูกผักร่วมกันยังเป็นกิจกรรมสร้างความอบอุ่นในครอบครัวอีกด้วย โดยตำบลนาพละ มีประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 4.48 ประชากรกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 54.31 จากข้อมูลคัดกรองโรคเรื้อรังปี 2559 ซึ่งโดยส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ การบริโภคอาหาร การขาดการออกกำลังกาย จากพฤติกรรมข้างต้น ส่งผลให้ประชากรในพื้นที่มีภาวะอ้วนลงพุง ปัญหารอบเอวเกิน การส่งเสริมประชาชนให้ปฏิบัติตนถูกต้องตามพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. ปรับพฤติกรรมการบริโภค, การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด รวมทั้งไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มสุรา ได้นั้นจะลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังต่างๆได้
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง เล็งเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ เน้นการป้องกันให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแลตนเองเพื่อไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วย และเพื่อให้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมอาการตนเองและลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นได้โดยเน้นการดำเนินงานโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้นและสร้างกระแส ให้ประชนในพื้นที่ตื่นตัวในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่องจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลด ประจำปีงบประมาณ 2560

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกำลังกายสม่ำเสมอและรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น
  2. 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้น สร้างกระแส กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอร่วมและการรับประทานอาหาร
    2. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้น สร้างกระแส กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีการดำเนินงานจัดประชุมภาคีเครือข่าย ณ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 2 เพื่อรับทราบการดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค
    2. กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 55 คน โดยได้รับความร่วมมือจากผู้นำชุมชนและทีมเครือข่ายในการประสานกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเฝ้าระวังติดตามสภาวะสุขภาพตามแบบฟอร์มเฝ้าระวังตรวจสุขภาพเบื้องต้นบูรณาการการใช้ปิงปองจราจร 7 สีอย่างต่อเนื่อง การติดตามเฝ้าระวังค่าระดับความโันโลหิตสูงและค่าระดับน้ำตาลในเลือดในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเป็นระยะเวลา 2 เดือน
    3. ผลการทำแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ได้ผลสรุปให้เห็นว่า กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและพฤติกรรมการบริโภคอาหารไปในทางที่ดีขึ้น

     

    45 55

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. มีการดำเนินงานจัดประชุมภาคีเครือข่าย ณ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 2 เพื่อรับทราบการดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค
    2. กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 55 คน โดยได้รับความร่วมมือจากผู้นำชุมชนและทีมเครือข่ายในการประสานกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเฝ้าระวังติดตามสภาวะสุขภาพตามแบบฟอร์มเฝ้าระวังตรวจสุขภาพเบื้องต้นบูรณาการการใช้ปิงปองจราจร 7 สีอย่างต่อเนื่อง การติดตามเฝ้าระวังค่าระดับความโันโลหิตสูงและค่าระดับน้ำตาลในเลือดในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเป็นระยะเวลา 2 เดือน
    3. ผลการทำแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ได้ผลสรุปให้เห็นว่า กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายและพฤติกรรมการบริโภคอาหารไปในทางที่ดีขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกำลังกายสม่ำเสมอและรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายรับประทานผักและผลไม้

     

    2 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้น สร้างกระแส กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้
    ตัวชี้วัด : ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้น สร้างกระแส กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกำลังกายสม่ำเสมอและรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น (2) 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้น สร้างกระแส กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปรีดา แก้วละเอียด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด