กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการเกิดโรคติดต่อ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอลิซโส๊ะประจิน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการเกิดโรคติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L7850-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการเกิดโรคติดต่อ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการเกิดโรคติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการเกิดโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L7850-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,047.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางของการเกิดวิกฤตมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ซึ่งอยู่ในช่วงวัยเรียน เป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ และพฤติกรรม เป็นช่วงรอยต่อของความเป็นเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งกลุ่มเหล่านี้จะเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดปัญหาที่เกี่ยวกับความรุนแรง การและปัญหาโรคติดต่อที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ได้
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวเป็นปัญหาเบื้องต้นของความสงบสุขของสังคม ปัญหาความรุนแรงที่พบบ่อย ได้แก่ สามีทำร้ายภรรยา การทารุณเด็ก การใช้แรงงานเด็ก ความรุนแรงเหล่านี้มีผลกระทบต่อบุคคลทำให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว เก็บกด อาฆาต ขาดความไว้เนื้อเชื้อใจซึ่งกันและกัน นอกจากนั้นครอบครัวที่พ่อ แม่ ดื่มเหล้า ใช้สารเสพติด ใช้อาวุธต่อสู้กัน ทำร้ายบุตร รวมทั้งการหย่าร้าง เป็นสาเหตุให้เด็กหวาดระแวงผู้ใหญ่และสูญเสียสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น อาจทำให้ตั้งแก๊งก้าวร้าวทารุณเด็กอื่น หนีออกจากบ้าน รู้สึกว่าตนเองหมดคุณค่าหันไปหาที่พึ่งอื่นๆ เช่น สารเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันสมควรและขาดความรับผิดชอบ ผลต่อครอบครัว คือ ขาดสัมพันธภาพกายภายในครอบครัว แยกตัวกลายเป็นเด็กเร่ร่อน ส่งผลกระทบต่อสังคมกลายเป็นเด็กก่ออาชญากรรม สร้างปัญหาความรุนแรงเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ ทำให้สูญเสียกำลังบุคคลของประเทศ จากสถานการณ์การตั้งครรภ์ในหญิง 15-19 ปี ในจังหวัดสตูล ปี 2560 พบว่ามีหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 42.91ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข โดยจะต้องไม่เกิน ≥ 42 ซึ่งเมื่อเทียบเป็นจำนวนพบว่ามีอัตราการตั้งครรภ์ทั้งหมด 157 คนโดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง มีอัตราการตั้งครรภ์จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 35.35 ซึ่งเป็นค่าที่ค่อนข้างสูง
ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการเกิดโรคติดต่อ เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกัน ทั้งทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิดที่จะสามารถนำไปใช้เป็นภูมิคุ้มกันตนเอง การดำเนินงานดังกล่าว จะสามารถแก้ไขปัญหาผลกระทบที่จะตามมาได้ เช่น ปัญหาความรุนแรง ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
  2. เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ตระหนักถึงผลเสียที่ตามมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ก่อนวัยอันควร ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
  3. เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
  4. เพื่อให้เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น มีทักษะในการป้องกันตนเองจากปัญหาความรุนแรง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความรุนแรง เช่น สาเหตุของการเกิดความรุนแรงทั้งในครอบครัว ชุมชน และสังคม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด
  2. อบรมให้ความรู้ เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม เช่น สาเหตุของการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด
  3. กิจกรรมละลายพฤติกรรม สันทนาการร่วมกันระหว่างเด็กและครอบครัว
  4. อบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคหนองใน โรคติดเชื้อเอชไอวี (HIV) โรคเอดส์ (AIDS) เป็นต้น และวิธีการป้องกันโรค แล้วสรุปแผนผังความคิด
  5. กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ครอบครัว ร่วมกับศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาต่างๆ วิธีการป้องกันปัญหาพร้อมทั้งแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
  2. เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม สาเหตุของการการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
  3. เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุงมีความรู้ใน เรื่องการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความรุนแรง เช่น สาเหตุของการเกิดความรุนแรงทั้งในครอบครัว ชุมชน และสังคม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด

วันที่ 14 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความรุนแรง เช่น สาเหตุของการเกิดความรุนแรงทั้งในครอบครัว ชุมชน และสังคม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินความรู้/ความเข้าใจก่อนการอบรม เรื่องความรุนแรง ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ระดับมาก จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ
ประเมินความรู้/ความเข้าใจหลังการอบรม     - เรื่องความรุนแรง ระดับมากที่สุด จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับมาก จำนวน
11 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 ระดับปานกลาง จำนวน 7 คิดเป็นร้อยละ 17.5 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 32.50 ระดับปานกลาง จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00

 

40 0

2. กิจกรรมละลายพฤติกรรม สันทนาการร่วมกันระหว่างเด็กและครอบครัว

วันที่ 14 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมละลายพฤติกรรม สันทนาการร่วมกันระหว่างเด็กและครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและผู้ปกครองสามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้อย่างดีและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดซึ่งกันและกันได้

 

40 0

3. อบรมให้ความรู้ เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม เช่น สาเหตุของการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด

วันที่ 14 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  อบรมให้ความรู้ เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม เช่น สาเหตุของการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินความรู้/ความเข้าใจก่อนการอบรม เรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ระดับมากที่สุด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 ระดับมาก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 ระดับปานกลาง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 ระดับน้อย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ประเมินความรู้/ความเข้าใจหลังการอบรม เรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ระดับมากที่สุด จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับมาก จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับปานกลาง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับน้อย จำนวน
- คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00

 

40 0

4. อบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคหนองใน โรคติดเชื้อเอชไอวี (HIV) โรคเอดส์ (AIDS) เป็นต้น และวิธีการป้องกันโรค แล้วสรุปแผนผังความคิด

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์  เช่น  โรคหนองใน โรคติดเชื้อเอชไอวี (HIV)  โรคเอดส์ (AIDS) เป็นต้น และวิธีการป้องกันโรค แล้วสรุปแผนผังความคิด 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากแผนผังความคิดเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม การตั้งครรภ์ไม่พร้อม โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวิธีการป้องกันโรค พบว่ากลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถอธิบายถึงสาเหตุของการเกิดปัญหาและแก้ไขปัญหา ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ระดับมากที่สุด จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ระดับมาก    จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ระดับปานกลาง จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 65.00 ระดับน้อย จำนวน  4 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00

 

40 0

5. กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ครอบครัว ร่วมกับศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาต่างๆ วิธีการป้องกันปัญหาพร้อมทั้งแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ครอบครัว ร่วมกับศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาต่างๆ วิธีการป้องกันปัญหาพร้อมทั้งแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินความรู้/ความเข้าใจก่อนการอบรม -ประโยชน์จากการอบรมโครงการ ระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 ระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับปานกลาง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับน้อย จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 02.50 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 -นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ระดับมากที่สุด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 ระดับมาก  จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ระดับปานกลาง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับน้อย จำนวน  3 คน คิดเป็นร้อยละ 07.50 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 -นำความรู้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น ระดับมากที่สุด จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับมาก  จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22.50 ระดับปานกลาง จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 57.50 ระดับน้อย จำนวน  2 คน คิดเป็นร้อยละ 05.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00   ประเมินความรู้/ความเข้าใจหลังการอบรม -ประโยชน์จากการอบรมโครงการ ระดับมากที่สุด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 60.00 ระดับมาก จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 ระดับปานกลาง จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 02.50 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 -นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ระดับมากที่สุด จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับมาก จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 45 ระดับปานกลาง จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับมากที่สุด จำนวน 14 คิดเป็นร้อยละ 35.00 ระดับมาก จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับปานกลาง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 40 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ
100.00
1.1 การประเมินความรู้/ความเข้าใจ ก่อน-หลัง การอบรม กับกลุ่มเป้าหมาย ได้แบ่งออกเป็น 5 ระดับ จัดเก็บได้จำนวน 40 ชุด มีรายละเอียดดังนี้     ประเมินความรู้/ความเข้าใจก่อนการอบรม     1) เรื่องความรุนแรง ระดับมากที่สุด จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ระดับมาก จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 ระดับปานกลาง จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00
    2) เรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ระดับมากที่สุด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 ระดับมาก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 ระดับปานกลาง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 ระดับน้อย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00     3) เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ระดับมากที่สุด จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ระดับมาก    จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ระดับปานกลาง จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 65.00 ระดับน้อย จำนวน  4 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00     4) ประโยชน์จากการอบรมโครงการ ระดับมากที่สุด จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 ระดับมาก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับปานกลาง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับน้อย จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 02.50 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 5) นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ระดับมากที่สุด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 ระดับมาก  จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ระดับปานกลาง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับน้อย จำนวน  3 คน คิดเป็นร้อยละ 07.50 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 6) นำความรู้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น ระดับมากที่สุด จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับมาก  จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22.50 ระดับปานกลาง จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 57.50 ระดับน้อย จำนวน  2 คน คิดเป็นร้อยละ 05.00 ระดับน้อยที่สุด จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ผลการประเมินความรู้/ความเข้าใจก่อนการอบรม กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ระดับมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 19.17 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 24.58 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 50.42 ระดับ น้อย คิดเป็นร้อยละ 05.83 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00     ประเมินความรู้/ความเข้าใจหลังการอบรม     - เรื่องความรุนแรง ระดับมากที่สุด จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับมาก จำนวน
11 คน คิดเป็นร้อยละ 27.50 ระดับปานกลาง จำนวน 7 คิดเป็นร้อยละ 17.5 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00

  • เรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ระดับมากที่สุด จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับมาก จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ระดับปานกลาง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับน้อย จำนวน
    • คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00
  • เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ระดับมากที่สุด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 60.00 ระดับมาก จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 ระดับปานกลาง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 07.50 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00
  • ประโยชน์จากการอบรมโครงการ ระดับมากที่สุด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 60.00 ระดับมาก จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 ระดับปานกลาง จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 02.50 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00
  • นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ระดับมากที่สุด จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับมาก จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 45 ระดับปานกลาง จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5 ระดับน้อย จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับมากที่สุด จำนวน 14 คิดเป็นร้อยละ 35.00 ระดับมาก จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 ระดับปานกลาง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ผลการประเมินความรู้/ความเข้าใจหลังการอบรม กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ระดับมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.42 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 40.00 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 09.58 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 40 คน ทุกคนมีความรู้ในเรื่องดังกล่าวมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100.00
    1.2 จากแผนผังความคิดเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม การตั้งครรภ์ไม่พร้อม
    โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวิธีการป้องกันโรค พบว่ากลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และ สามารถอธิบายถึงสาเหตุของการเกิดปัญหาและแก้ไขปัญหา ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1.3 การประเมินความพึงพอใจของการจัดอบรมโครงการ กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 40 คน จัดเก็บได้ทั้งหมดจำนวน 40 ฉบับ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 57.92 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 28.75 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 13.33 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 00.00 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.00 กลุ่มเป้าหมายทุกคนต้องการให้มีการจัดกิจกรรมนอกพื้นที่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ตระหนักถึงผลเสียที่ตามมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ก่อนวัยอันควร ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ตระหนักถึงผลเสียที่ตามมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ก่อนวัยอันควร ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ได้มีความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ร้อยละ 80
0.00

 

4 เพื่อให้เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น มีทักษะในการป้องกันตนเองจากปัญหาความรุนแรง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่นมีทักษะในการป้องกันตนเองจากปัญหาความรุนแรง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 20
กลุ่มวัยทำงาน 20 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชน และสังคม ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม (2) เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ตระหนักถึงผลเสียที่ตามมาจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ก่อนวัยอันควร ผลกระทบที่ตามมา และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม (3) เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น ผู้ปกครอง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง ในเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม (4) เพื่อให้เด็กและเยาวชน หรือวัยรุ่น มีทักษะในการป้องกันตนเองจากปัญหาความรุนแรง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความรุนแรง เช่น สาเหตุของการเกิดความรุนแรงทั้งในครอบครัว ชุมชน และสังคม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด (2)  อบรมให้ความรู้ เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม เช่น สาเหตุของการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และผลกระทบที่ตามมา แล้วสรุปแผนผังความคิด (3)                กิจกรรมละลายพฤติกรรม สันทนาการร่วมกันระหว่างเด็กและครอบครัว (4) อบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์  เช่น  โรคหนองใน โรคติดเชื้อเอชไอวี (HIV)  โรคเอดส์ (AIDS) เป็นต้น และวิธีการป้องกันโรค แล้วสรุปแผนผังความคิด  (5)  กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ครอบครัว ร่วมกับศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลฉลุง โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาต่างๆ วิธีการป้องกันปัญหาพร้อมทั้งแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการเกิดโรคติดต่อ

รหัสโครงการ 61-L7850-2-04 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ที่ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการเกิดโรคติดต่อ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L7850-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอลิซโส๊ะประจิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด