กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ


“ โครงการโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รพ.สต.บ้านอูยิ ”

ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮาซามา ซูเด็ง

ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รพ.สต.บ้านอูยิ

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2514-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รพ.สต.บ้านอูยิ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รพ.สต.บ้านอูยิ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รพ.สต.บ้านอูยิ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2514-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง เป็นความหวังของครอบครัว เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ อนาคตของประเทศชาติจึงขึ้นอยู่กับคุณภาพของเด็ก เด็กที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ มีพัฒนาการในทุก ๆ ด้านที่เหมาะสมกับวัย ไม่ว่าจะเป็นพัฒนาการทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมและจริยธรรม จะเป็นผู้ที่สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติในอนาคต ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการเด็กเด็กในวัยนี้ถูกละเลยไม่ได้รับการเอาใจใส่ด้านโภชนาการ จะส่งผลทำให้ร่างกายและสมองเติบโตช้า ผลที่ตามมาคือ โรคขาดสารอาหาร ทำให้พัฒนาการและการเรียนรู้ล่าช้าด้อยกว่าเด็กตามเกณฑ์ที่อยู่ในวัยเดียวกัน และเด็กที่ขาดสารอาหารจะมีผลทำให้ภูมิต้านทานโรคต่ำ เด็กจะเจ็บป่วยได้ง่าย เกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่าย เด็กในวัยนี้จะเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ หากยังปล่อยเด็กในวัยนี้ขาดสารอาหาร อาจส่งผลกระทบทุกๆด้าน การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ด้านโภชนาการสำคัญที่สุด เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการทีดี จากรายงานการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ประจำงวดที่ ๒/๒๕๖1 จำนวนเด็กทั้งหมด 546 คน จำนวนเด็กได้รับการเฝ้าระวังฯ 428 คน (ร้อยละ 78.39) พบอัตราเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 50คน(ร้อยละ 11.68) เด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 46 คน (ร้อยละ 10.75) จะเห็นได้ว่าภาวะทุพโภชนาการของเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ยังคงเป็นปัญหาที่จะต้องดำเนินการแก้ไขต่อไป
ดังนั้น เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ จึงได้จัดทำโครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖1 ขึ้นเพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเด็กด้านโภชนาการ และมีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก ส่งผลให้ผู้ปกครองเด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ไปในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน มีส่วนสูงระดับดีและมีรูปร่างสมส่วนตามวัย
  2. เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี มีพัฒนาการสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรม อสม. เกี่ยวกับบทบาทการดูแลเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน
  2. กิจกรรมอบรมผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเด็กด้านโภชนาการ มีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก และสามารถนำไปปรับใช้เพื่อให้เด็กๆมีภาวะโภชนาการที่ดี พัฒนาการสมวัย ๒. อสม. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเด็กด้านโภชนาการ มีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก และสามารถนำความรู้ไปดูแลเด็กๆที่มีภาวะทุพโภชนาการในหมู่บ้าน และถ่ายทอดความรู้แก่คนในหมู่บ้าน เพื่อให้เด็กๆมีภาวะโภชนาการที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรม อสม. เกี่ยวกับบทบาทการดูแลเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อสม. และผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน
                ๑.๑ กิจกรรม อบรม อสม. และ ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ              (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์)                 1.2 ติดตามเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ เดือนละ 1 ครั้ง                 1.3 กิจกรรมประกวดแจกของรางวัลแก่เด็กน้อยที่มีภาวะทุพโภชนาการต่ำสู่ภาวะโภชนาการดี           ๒. ติดตามประเมินผลโครงการ           ๓. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเด็กด้านโภชนาการ มีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก และสามารถนำความรู้ไปดูแลเด็กๆที่มีภาวะทุพโภชนาการในหมู่บ้าน และถ่ายทอดความรู้แกคนในหมู่บ้าน เพื่อให้เด็กๆมีภาวะโภชนาการที่ดี

 

50 0

2. กิจกรรมอบรมผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์)

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อสม. และผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน
                ๑.๑ กิจกรรม อบรม อสม. และ ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ              (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์)                 1.2 ติดตามเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ เดือนละ 1 ครั้ง                 1.3 กิจกรรมประกวดแจกของรางวัลแก่เด็กน้อยที่มีภาวะทุพโภชนาการต่ำสู่ภาวะโภชนาการดี           ๒. ติดตามประเมินผลโครงการ           ๓. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเด็กด้านโภชนาการมีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก และสามารถนำไปปรับใช้เพื่อให้เด็กๆมีภาวะโภชนาการที่ดี พัฒนาการสมวัย

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเด็กด้านโภชนาการมีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก และสามารถนำไปปรับใช้เพื่อให้เด็กๆมีภาวะโภชนาการที่ดี พัฒนาการสมวัย อสม.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเด็กด้านโภชนาการ มีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก และสามารถนำความรู้ไปดูแลเด็กๆที่มีภาวะทุพโภชนาการในหมู่บ้าน และถ่ายทอดความรู้แกคนในหมู่บ้าน เพื่อให้เด็กๆมีภาวะโภชนาการที่ดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน มีส่วนสูงระดับดีและมีรูปร่างสมส่วนตามวัย
ตัวชี้วัด : อัตราของเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน มีส่วนสูงระดับดีและมีรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
70.00

 

2 เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก ๙, ๑๘, ๓๐, ๔๒, เดือน มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕
95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน มีส่วนสูงระดับดีและมีรูปร่างสมส่วนตามวัย (2) เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี มีพัฒนาการสมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม อสม. เกี่ยวกับบทบาทการดูแลเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน  (2) กิจกรรมอบรมผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโภชนาการดี พัฒนาการสมวัย รพ.สต.บ้านอูยิ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2514-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮาซามา ซูเด็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด