กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา


“ โครงการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุรีรัตน์ ขวัญซ้าย

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L61-L5254-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L61-L5254-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทย ต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงวัยเจริญพันธ์ที่เตรียมตัวตั้งครรภ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหากหญิงวัยเจริญพันธ์เหล่านี้ ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้วจะสามารถป้องกันและภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่นโรคธาลัสซีเมีย ลดความพิการของทารกแต่กำเนิด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ปัญหาคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกคลอดปลอดภัย และมีสุขภาพแข็งแรง ต่อเนื่องถึงการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างองค์รวม ทั้งสุขภาวะทางกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลเลี้ยงดูเด็กที่ดีจากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนการส่งเสริมโภชนาการที่เหมาะสมจะทำให้มารดาและทารกที่คลอดมา มีสุขภาพดี ทารกควรได้รับการเลี้ยงดูน้ำนมแม่อย่างต่อเนื่อง ได้รับการบริการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม และได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมจากพ่อแม่ทั้งการกระตุ้นพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอสะบ้าย้อย พบว่ายังมีตัวชี้วัดสำคัญอีกจำนวนหนึ่งที่ยังไม่สามารถดำเนินการได้บรรลุตามเป้าหมายได้แก่ อัตราภาวะโลหิตจางในขณะใกล้คลอดปี 2558-2560 คิดเป็นร้อยละ 13.03,15.35 และ 16.71 และถึงแม้ว่าตัวชี้วัดบางส่วนจะมี ผลการดำเนินงานผ่านตามเป้าหมายตัวชี้วัดแล้ว เช่นอัตราอัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ปี2558-2560 คิดเป็นร้อยละ 77.73 ,64.48 และ 88.43 อัตราการฝากครรภ์คุณภาพ ปี 2558-2560 คิดเป็นร้อยละ13.31 , 45.21 และ 65.76 เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ในปี 2559-2560 ผลงานร้อยละ 85.06 และ 95.50 แต่การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ก็ยังคงต้องดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย เพื่อการดูแลส่งเสริม และลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มแม่และเด็กต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมบุคลากรในภาคีเครือข่ายให้มีความรู้ความสามารถด้านอนามัยแม่และเด็ก
  2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชนในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กตั้งแต่ ตั้งครรภ์ จนถึง วัยก่อนเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมหญิงวัยเจริญพันธ์เตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ เพื่อลดความพิการในทารกแรกเกิดและป้องกันภาวะซีด
  2. พัฒนาศักยภาพโต๊ะอิหม่ามให้มีความรู้ในเรื่องการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
  3. ส่งเสริมภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมอบรมทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ ร้อยละ 80 2.ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กตามเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริการงานอนามัยแม่และเด็กมีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งผลให้ผู้รับบริการได้รับการบริการที่ดีมีประสิทธิภาพ มีสุขภาพดี ลดภาวะแทรกซ้อน และความรุนแรงที่จะเกิดต่อแม่และเด็ก เด็กมีการเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัยรวมถึงชุมชน/ภาคีเครือข่าย ร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมบุคลากรในภาคีเครือข่ายให้มีความรู้ความสามารถด้านอนามัยแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : บุคลากรในภาคีเครือข่ายให้มีความรู้ความสามารถด้านอนามัยแม่และเด็กเพิ่มขึ้น
1.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชนในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กตั้งแต่ ตั้งครรภ์ จนถึง วัยก่อนเรียน
ตัวชี้วัด : ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กตั้งแต่ ตั้งครรภ์ จนถึง วัยก่อนเรียนเพิ่มมากขึ้น
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 135
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมบุคลากรในภาคีเครือข่ายให้มีความรู้ความสามารถด้านอนามัยแม่และเด็ก (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชนในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กตั้งแต่ ตั้งครรภ์ จนถึง วัยก่อนเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมหญิงวัยเจริญพันธ์เตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ เพื่อลดความพิการในทารกแรกเกิดและป้องกันภาวะซีด (2) พัฒนาศักยภาพโต๊ะอิหม่ามให้มีความรู้ในเรื่องการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์ (3) ส่งเสริมภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L61-L5254-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุรีรัตน์ ขวัญซ้าย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด