โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน ”
ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
หัวหน้าโครงการ
พงษ์นรินทร์ จินดา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองลำพูน
พฤศจิกายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
ที่อยู่ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จังหวัด ลำพูน
รหัสโครงการ 61-L7236-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2560 ถึง 17 พฤศจิกายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองลำพูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน รหัสโครงการ 61-L7236-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2560 - 17 พฤศจิกายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,748.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองลำพูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายของรัฐบาลกำหนดให้อาหารปลอดภัย และการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นนโยบายหลัก โดยมีความครอบคลุมความปลอดภัยทั้งในอาหารและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ต้องมีคุณภาพมาตรฐาน เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยในสินค้า ซึ่งจะเห็นได้จากมีแนวทางในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ๒ แนวทาง ได้แก่ แนวทางในการเฝ้าระวังสินค้าและบริการในชุมชน และแนวทางในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้บริโภค
แนวทางในการเฝ้าระวังสินค้า เช่น การตรวจเยี่ยมร้านชำในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังสินค้าที่มีการจำหน่ายในร้านชำ ซึ่งอาจจะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ ได้แก่ สินค้ากลุ่มอาหาร เช่น อาหารกระป๋องที่หมดอายุ เครื่องดื่มบรรจุขวดที่ฉลากไม่ถูกต้อง การจำหน่ายยาเกินกรอบบัญชียาสามัญประจำบ้าน อาจทำให้เกิดการแพ้ยา ได้ยาเกินความจำเป็น และอาจได้ยาเสตียรอยด์ ซึ่งเป็นยาครอบจักรวาลแต่มีอันตรายมาก สินค้าเครื่องสำอางที่ฉลากไม่ถูกต้อง อาจทำให้เกิดฝ้าถาวร หน้าลอกหน้าแดงได้ หรือการจัดเรียงสินค้าในร้านอาจมีความเสี่ยงที่ผู้บริโภคจะได้รับอันตรายจากการปนเปื้อนสารเคมี เป็นต้น
แนวทางในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้บริโภค ได้แก่ การให้ผู้บริโภคทราบสิทธิของตนในการได้รับความปลอดภัยในสินค้าและบริการ การให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้บริโภคในการอ่านฉลากสินค้า รู้เท่าทันการโฆษณาประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลของสินค้าและบริการใหม่ ๆ ซึ่งอาจส่งผลเสียหรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้ และการจัดตั้งชมรมคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น
ร้านชำเป็นแหล่งกระจายสินค้าที่มีความใกล้ชิดชุมชนมาก ถือเป็นประการด่านหน้าในการกระจายสินค้าเข้าสู่ชุมชน ผู้ประกอบการร้านชำมีบทบาท ๒ บทบาท ได้แก่ เป็นผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้าเข้าร้าน และเป็นผู้ขายสินค้าให้กับคนในชุมชน การให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ สร้างความตระหนักในสิทธิของผู้บริโภค แนวทางการเลือกซื้อสินค้ามาจำหน่ายในร้านชำ การดูวันหมดอายุ ข้อกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยต่อผู้บริโภค การจำหน่ายแอลกอฮอล์และบุหรี่ในร้านชำ และบทกำหนดโทษ จะเห็นได้ว่า การให้ความรู้ความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคแก่ผู้ประกอบการร้านชำเป็นเรื่องสำคัญ และเป็นทางออกที่ดีในการป้องกันผู้บริโภคถูกละเมิดสิทธิและได้รับอันตรายจากการบริโภคสินค้า และทราบแนวทางการเลือกซื้อสินค้าที่ดีมาจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภค และผู้บริโภคมีแนวทางในการเลือกซื้อสินค้า ไม่ถูกหลอกลวงหรือเอารัดเอาเปรียบได้ ดังนั้นศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลำพูน จึงได้จัดทำโครงการอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูนในงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.) ขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำเลือกซื้อสินค้าที่ปลอดภัยมาจำหน่ายในร้าน และประชาชนสามารถเลือกซื้อสินค้าในร้านชำได้อย่างปลอดภัย
จากการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2559 ที่ผ่านมา พบว่า ความปลอดภัยสินค้าที่จำหน่ายในร้านชำ ซึ่งแบ่งเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านอาหาร 2) ด้านเครื่องสำอาง 3) ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4) ด้านวัตถุอันตราย 5) ด้านบุหรี่และสุรา โดยเก็บข้อมูลจากการใช้แบบสำรวจและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมของร้านชำจำนวน 97 ร้านในเขตเทศบาลเมืองลำพูน ระหว่างวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ถึง 15 พฤศจิกายน 2559 ผลการศึกษาสถานการณ์ความปลอดภัยของร้านชำ พบว่า 1) ด้านอาหาร ร้านชำร้อยละ 51.1 ไม่มีสินค้าอาหารหมดอายุ 2) ด้านเครื่องสำอาง ร้านชำร้อยละ 100 ไม่มีการจำหน่ายเครื่องสำอางที่มีสารอันตราย 3) ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ พบว่าร้านชำ ร้อยละ 91.3 ไม่มีการจำหน่ายยาอันตรายและยาปฏิชีวนะจำหน่ายในร้านชำ ร้านชำร้อยละ 76.1 ไม่มียาที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านชำ4) ด้านวัตถุอันตราย ร้านชำร้อยละ 94.8 มีแยกเก็บวัตถุอันตรายออกจากบริเวณที่จำหน่ายสินค้าบริโภค 5) ด้านบุหรี่และสุรา ร้านชำร้อยละ 18.2 ไม่มีป้ายเตือนห้ามจำหน่ายบุหรี่แก่เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี และร้านชำ ร้อยละ 19.1 ไม่มีป้ายเตือนห้ามจำหน่ายสุราแก่เด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี และหลังจากการตรวจเยี่ยมร้านชำได้มอบป้ายเตือนให้กับร้านชำที่ไม่มีป้ายเตือนห้ามจำหน่ายบุหรี่แก่เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี และห้ามจำหน่ายสุราแก่เด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี แสดงให้เห็นว่าการดำเนินการตรวจเยี่ยมร้านชำ และอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพควรมีการดำเนินงานเป็นประจำ และต่อเนื่อง โดยควรเน้นกระบวนการที่ทำให้เกิดการตรวจสอบวันหมดอายุของสินค้าที่จำหน่ายในร้านชำ และการมีส่วนร่วมไม่ให้มีการจำหน่ายยาอื่น นอกจากยาสามัญประจำบ้าน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจเยี่ยมร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
- อบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
95
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กิจกรรมที่ ๒
๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
๒. กำหนดหลักสูตรการอบรม และเชิญวิทยากร
๓. จัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม และสร้างแบบประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
๔. ประชาสัมพันธ์โครงการโดยการทำป้ายและประสัมพันธ์เสียงตามสาย
๕. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่กำหนด
๕.๑ ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม
๕.๒ อบรมประกอบการร้านชำ ในชุมชน
๕.๓ ทดสอบความรู้หลังการอบรม
รวบรวมข้อมูลสรุปและประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
วันที่ 11 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
2 กิจกรรมอบรมผู้ประกอบการร้านชำ
๑. ผู้ประกอบการร้านชำหรือตัวแทน เข้ารับการอบรมจำนวน 70 คน จากการเชิญจำนวนผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลทั้งหมด ๙6 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 72.9 จากจำนวนผู้ประกอบการร้านชำทั้งหมด (คิดจากฐานจำนวนผู้ประกอบการร้านชำปัจจุบัน)
๒. ผู้ประกอบการร้านชำทำแบบประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ก่อนการอบรม มีคะแนนเฉลี่ย 7.5 คะแนน และหลังการอบรม มีคะแนนเฉลี่ย ๑3.5 คะแนน โดยคะแนนก่อนและหลังการอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จากข้อคำถามที่มีคะแนนเต็ม คือ ๑๕ คะแนน โดยที่ผู้ประกอบการร้านชำจำนวน 61 ราย คิดเป็นร้อยละ 86.0 ทำแบบประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพผ่านเกณฑ์ (ได้คะแนนมากกว่าร้อยละ ๘๐ คะแนนเต็ม; มากกว่าเท่ากับ ๑๒ คะแนน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์
95
0
2. ตรวจเยี่ยมร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
วันที่ 11 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมตรวจเยี่ยมร้านชำ
ได้ดำเนินการตรวจเยี่ยมร้านชำ 96 ร้าน จากร้านชำทั้งหมด 96 ร้าน คิดเป็น ร้อยละ 100 ของร้านชำทั้งหมด ผลการตรวจเยี่ยมร้านชำ เป็นดังนี้
๑. ร้านชำ 91 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 94.8 ของร้านชำทั้งหมด ไม่มียาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่อนุญาตให้จำหน่ายในร้านชำ (ไม่มียาชุด ยาปฏิชีวนะ หรือยาอันตราย) ซึ่งผ่านเกณฑ์ อย่างไรก็ตามหากใช้เกณฑ์ตามข้อกฎหมายซึ่งอนุญาตให้เฉพาะยาสามัญประจำบ้านเท่านั้น โดยไม่อนุโลมยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จยาบรรจุเสร็จ เช่น ทิฟฟี่ ดีคอลเจน เป็นต้น จะมีร้านชำ 74 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 77.1 ของร้านชำทั้งหมด ปฏิบัติถูกต้องตามข้อกฎหมาย
2. ร้านชำ จำนวน 95 มีร้านไม่พบการจำหน่าย เครื่องสำอางที่มีสารอันตราย ได้แก่ ไฮโดรควิโนน ปรอท และกรดวิตามินเอ แต่มีร้านชำ 1 ร้าน ที่มีเครื่องสำอางที่ไม่มีเลขจดแจ้ง 2 รายการ เมื่อตรวจสอบฐานข้อมูลกับ อย. และทาง สสจ. ลำพูนแล้ว พบว่า เครื่องสำอางทั้ง 2 รายการ มีการปนเปื้อน ปรอท และ กรดวิตามินเอ ซึ่งได้ให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านชำ และเก็บออกจากชั้นวางจำหน่ายทันที
3. ร้านชำ จำนวน 93 ร้าน คิดเป็น ร้อยละ 96.9 ไม่มีอาหารที่ฉลากไม่ถูกต้องในร้านชำ โดยมีร้านชำ 2 ร้าน จำหน่ายกาแฟลดน้ำหนักที่ใช้เลข อย. ปลอม และมีการใช้สารไซบูทรามีนซึ่งเป็นยาลดน้ำหนักที่ถอนทะเบียนแล้วเพราะเป็นอันตราย มีผลข้างเคียง ปากแห้ง คอแห้ง ลิ้นชา ใจสั่น นอนไม่หลับ เวียนศีรษะ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ หากได้รับปริมาณอาจทำให้ถึงขั้นเสียชีวิต ได้ให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านชำ และเก็บออกจากชั้นวางจำหน่ายทันที ส่วนร้านชำอีก 1 ร้าน พบเครื่องดื่มรังนกบรรจุในภาชนะปิดสนิทไม่มีเลข อย. จำหน่ายในราคาถูก เข้าข่ายอาหารปลอม และอาจใช้ยางคารายาซึ่งเป็นยางไม้มาทำเป็นรังนก ได้แจ้ง สสจ. ลำพูน และให้คำผู้ประกอบการร้านชำไม่ให้นำมาจำหน่าย
4. ร้านชำ จำนวน 65 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 67.7 ไม่มีสินค้าที่หมดอายุจำหน่ายในร้าน (ถ้าพบเพียง ๑ รายการ ก็ถือว่ามีสินค้าหมดอายุ) อย่างไรก็ตาม ร้านชำร้อยละ 85.4 ของร้านชำทั้งหมด ไม่มีสินค้าหมดอายุเกิน 2 รายการ
5. ร้านชำทั้งหมด ร้อยละ 100 มีการแสดงป้ายเตือนการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ ได้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยก่อนหน้าจะแจกป้าย ร้านชำจำนวน 72 ร้าน มีการจำหน่ายบุหรี่ แต่ไม่มีป้ายเตือนจำนวน 30 ร้าน และร้านที่จำหน่ายบุหรี่ทั้งหมดเป็นป้ายเตือนรุ่นเก่า คือ ห้ามขายบุหรี่แก่บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี และร้านชำจำนวน 66 ร้าน มีการจำหน่ายสุรา แต่ไม่มีป้ายเตือนจำนวน 12 ร้าน และได้แจกป้ายรุ่นใหม่ให้กับร้านชำที่ป้ายเตือนเก่าชำรุดหลุดลอกเรียบร้อยแล้ว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ประกอบการได้รับคำแนะนำแนวทางในการพัฒนาร้านตามลักษณะร้านชำที่มีมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
95
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
4.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
95
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
95
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจเยี่ยมร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน (2) อบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
รหัสโครงการ 61-L7236-1-03 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2560 - 17 พฤศจิกายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ได้รายชื่อสินค้าในร้านชำที่หมดอายุ เพื่อใช้เป็นตัวบ่งชี้(Indicator)ในการค้นหาสินค้าหมดอายุในร้านชำ เพื่อทำการตรวจร้าน
ผลการสำรวจรายชื่อสินค้า
ใช้เป็นตัวบ่งชี้(Indicator) ในการสุ่มหาสินค้าหมดอายุในร้านชำ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
มีกลุ่มผู้ประกอบการร้านชำเทศบาลเมืองลำพูน เพื่อเเจ้งข่าวสารสินค้าไม่ปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นอันตราย เช่น ครีมอันตราย กาแฟลดน้ำหนัก ผสมไซซาบูทรามีน
กลุ่ม Line ผู้ประกอบการร้านชำเทศบาลเมืองลำพูน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
การเฝ้าระวัง อาหาร ยา เเละผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน จากการสำรวจร้านชำซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าในชุมชนเเละให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำทำให้ผู้บริโภคสามารถเลือกสินค้าบริการที่ปลอดภัยในชุมชน
สินค้ากาแฟลดน้ำหนักที่ปลอมปนไซซาบูทรามีน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
มีการอบรมพัฒนาร้านชำต้นเเบบ โดยเชิญพาณิชย์จังหวัดลำพูนมาบรรยายเเนวทางการพัฒนาจัดการร้านส้รางความเเตกต่างให้สามารถดำรงอยู่เเลพเเข่งขันได้กับร้าาน Modern trade รวมถึงการเข้าร่วมโครงการร้านธงฟ้าเเละการติดตั้งเครื่องรูดบัตรสวัสดิการเเห่งรัฐ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
ตั้งกฏกติการ้านชำไม่จำหน่ายยาปฏิชีวนะยาอันตราย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
ยึดยาปฏิชีวนะเเละยาอันตรายหากมีการจำหน่ายโดยโครงการนี้ได้ดำเนินารติดต่อกันหลายปีร้านชำหลายเเห่งทราบเเละให้ความร่วมมือไม่จำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาอันตราย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
ชุดความรู้ที่ให้กับผู้ปาระกอบการร้านชำมีเรื่อง พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เเละยาสูบเขตที่จำหน่ายเครื่องดื่มเเอลกอฮอล์(Zoning)
-การดำเนิงานคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งได้เชิญวิทยากรจากหน่วยงาน
1.สรรพสามิตพื้นที่
2.พาณิชย์จังหวัด
3.สสจ.ลำพูน
4.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลำพูน
-การพัฒนาร้านชำต้นเเบบ
-กำหนดการ
-เอกสารประกอบการอบรม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน จังหวัด ลำพูน
รหัสโครงการ 61-L7236-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( พงษ์นรินทร์ จินดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน ”
ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
หัวหน้าโครงการ
พงษ์นรินทร์ จินดา
พฤศจิกายน 2560
ที่อยู่ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จังหวัด ลำพูน
รหัสโครงการ 61-L7236-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2560 ถึง 17 พฤศจิกายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองลำพูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน รหัสโครงการ 61-L7236-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2560 - 17 พฤศจิกายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,748.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองลำพูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายของรัฐบาลกำหนดให้อาหารปลอดภัย และการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นนโยบายหลัก โดยมีความครอบคลุมความปลอดภัยทั้งในอาหารและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ต้องมีคุณภาพมาตรฐาน เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยในสินค้า ซึ่งจะเห็นได้จากมีแนวทางในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ๒ แนวทาง ได้แก่ แนวทางในการเฝ้าระวังสินค้าและบริการในชุมชน และแนวทางในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้บริโภค
แนวทางในการเฝ้าระวังสินค้า เช่น การตรวจเยี่ยมร้านชำในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังสินค้าที่มีการจำหน่ายในร้านชำ ซึ่งอาจจะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ ได้แก่ สินค้ากลุ่มอาหาร เช่น อาหารกระป๋องที่หมดอายุ เครื่องดื่มบรรจุขวดที่ฉลากไม่ถูกต้อง การจำหน่ายยาเกินกรอบบัญชียาสามัญประจำบ้าน อาจทำให้เกิดการแพ้ยา ได้ยาเกินความจำเป็น และอาจได้ยาเสตียรอยด์ ซึ่งเป็นยาครอบจักรวาลแต่มีอันตรายมาก สินค้าเครื่องสำอางที่ฉลากไม่ถูกต้อง อาจทำให้เกิดฝ้าถาวร หน้าลอกหน้าแดงได้ หรือการจัดเรียงสินค้าในร้านอาจมีความเสี่ยงที่ผู้บริโภคจะได้รับอันตรายจากการปนเปื้อนสารเคมี เป็นต้น
แนวทางในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้บริโภค ได้แก่ การให้ผู้บริโภคทราบสิทธิของตนในการได้รับความปลอดภัยในสินค้าและบริการ การให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้บริโภคในการอ่านฉลากสินค้า รู้เท่าทันการโฆษณาประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลของสินค้าและบริการใหม่ ๆ ซึ่งอาจส่งผลเสียหรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้ และการจัดตั้งชมรมคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น
ร้านชำเป็นแหล่งกระจายสินค้าที่มีความใกล้ชิดชุมชนมาก ถือเป็นประการด่านหน้าในการกระจายสินค้าเข้าสู่ชุมชน ผู้ประกอบการร้านชำมีบทบาท ๒ บทบาท ได้แก่ เป็นผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้าเข้าร้าน และเป็นผู้ขายสินค้าให้กับคนในชุมชน การให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ สร้างความตระหนักในสิทธิของผู้บริโภค แนวทางการเลือกซื้อสินค้ามาจำหน่ายในร้านชำ การดูวันหมดอายุ ข้อกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยต่อผู้บริโภค การจำหน่ายแอลกอฮอล์และบุหรี่ในร้านชำ และบทกำหนดโทษ จะเห็นได้ว่า การให้ความรู้ความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคแก่ผู้ประกอบการร้านชำเป็นเรื่องสำคัญ และเป็นทางออกที่ดีในการป้องกันผู้บริโภคถูกละเมิดสิทธิและได้รับอันตรายจากการบริโภคสินค้า และทราบแนวทางการเลือกซื้อสินค้าที่ดีมาจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภค และผู้บริโภคมีแนวทางในการเลือกซื้อสินค้า ไม่ถูกหลอกลวงหรือเอารัดเอาเปรียบได้ ดังนั้นศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลำพูน จึงได้จัดทำโครงการอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูนในงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.) ขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำเลือกซื้อสินค้าที่ปลอดภัยมาจำหน่ายในร้าน และประชาชนสามารถเลือกซื้อสินค้าในร้านชำได้อย่างปลอดภัย
จากการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2559 ที่ผ่านมา พบว่า ความปลอดภัยสินค้าที่จำหน่ายในร้านชำ ซึ่งแบ่งเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านอาหาร 2) ด้านเครื่องสำอาง 3) ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4) ด้านวัตถุอันตราย 5) ด้านบุหรี่และสุรา โดยเก็บข้อมูลจากการใช้แบบสำรวจและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมของร้านชำจำนวน 97 ร้านในเขตเทศบาลเมืองลำพูน ระหว่างวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 ถึง 15 พฤศจิกายน 2559 ผลการศึกษาสถานการณ์ความปลอดภัยของร้านชำ พบว่า 1) ด้านอาหาร ร้านชำร้อยละ 51.1 ไม่มีสินค้าอาหารหมดอายุ 2) ด้านเครื่องสำอาง ร้านชำร้อยละ 100 ไม่มีการจำหน่ายเครื่องสำอางที่มีสารอันตราย 3) ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ พบว่าร้านชำ ร้อยละ 91.3 ไม่มีการจำหน่ายยาอันตรายและยาปฏิชีวนะจำหน่ายในร้านชำ ร้านชำร้อยละ 76.1 ไม่มียาที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านชำ4) ด้านวัตถุอันตราย ร้านชำร้อยละ 94.8 มีแยกเก็บวัตถุอันตรายออกจากบริเวณที่จำหน่ายสินค้าบริโภค 5) ด้านบุหรี่และสุรา ร้านชำร้อยละ 18.2 ไม่มีป้ายเตือนห้ามจำหน่ายบุหรี่แก่เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี และร้านชำ ร้อยละ 19.1 ไม่มีป้ายเตือนห้ามจำหน่ายสุราแก่เด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี และหลังจากการตรวจเยี่ยมร้านชำได้มอบป้ายเตือนให้กับร้านชำที่ไม่มีป้ายเตือนห้ามจำหน่ายบุหรี่แก่เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี และห้ามจำหน่ายสุราแก่เด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี แสดงให้เห็นว่าการดำเนินการตรวจเยี่ยมร้านชำ และอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพควรมีการดำเนินงานเป็นประจำ และต่อเนื่อง โดยควรเน้นกระบวนการที่ทำให้เกิดการตรวจสอบวันหมดอายุของสินค้าที่จำหน่ายในร้านชำ และการมีส่วนร่วมไม่ให้มีการจำหน่ายยาอื่น นอกจากยาสามัญประจำบ้าน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจเยี่ยมร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
- อบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 95 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กิจกรรมที่ ๒
๑. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
๒. กำหนดหลักสูตรการอบรม และเชิญวิทยากร
๓. จัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม และสร้างแบบประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
๔. ประชาสัมพันธ์โครงการโดยการทำป้ายและประสัมพันธ์เสียงตามสาย
๕. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่กำหนด
๕.๑ ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม
๕.๒ อบรมประกอบการร้านชำ ในชุมชน
๕.๓ ทดสอบความรู้หลังการอบรม
รวบรวมข้อมูลสรุปและประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน |
||
วันที่ 11 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ2 กิจกรรมอบรมผู้ประกอบการร้านชำ ๑. ผู้ประกอบการร้านชำหรือตัวแทน เข้ารับการอบรมจำนวน 70 คน จากการเชิญจำนวนผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลทั้งหมด ๙6 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 72.9 จากจำนวนผู้ประกอบการร้านชำทั้งหมด (คิดจากฐานจำนวนผู้ประกอบการร้านชำปัจจุบัน) ๒. ผู้ประกอบการร้านชำทำแบบประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ก่อนการอบรม มีคะแนนเฉลี่ย 7.5 คะแนน และหลังการอบรม มีคะแนนเฉลี่ย ๑3.5 คะแนน โดยคะแนนก่อนและหลังการอบรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จากข้อคำถามที่มีคะแนนเต็ม คือ ๑๕ คะแนน โดยที่ผู้ประกอบการร้านชำจำนวน 61 ราย คิดเป็นร้อยละ 86.0 ทำแบบประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพผ่านเกณฑ์ (ได้คะแนนมากกว่าร้อยละ ๘๐ คะแนนเต็ม; มากกว่าเท่ากับ ๑๒ คะแนน) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์
|
95 | 0 |
2. ตรวจเยี่ยมร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน |
||
วันที่ 11 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมตรวจเยี่ยมร้านชำ ได้ดำเนินการตรวจเยี่ยมร้านชำ 96 ร้าน จากร้านชำทั้งหมด 96 ร้าน คิดเป็น ร้อยละ 100 ของร้านชำทั้งหมด ผลการตรวจเยี่ยมร้านชำ เป็นดังนี้ ๑. ร้านชำ 91 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 94.8 ของร้านชำทั้งหมด ไม่มียาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่อนุญาตให้จำหน่ายในร้านชำ (ไม่มียาชุด ยาปฏิชีวนะ หรือยาอันตราย) ซึ่งผ่านเกณฑ์ อย่างไรก็ตามหากใช้เกณฑ์ตามข้อกฎหมายซึ่งอนุญาตให้เฉพาะยาสามัญประจำบ้านเท่านั้น โดยไม่อนุโลมยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จยาบรรจุเสร็จ เช่น ทิฟฟี่ ดีคอลเจน เป็นต้น จะมีร้านชำ 74 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 77.1 ของร้านชำทั้งหมด ปฏิบัติถูกต้องตามข้อกฎหมาย 2. ร้านชำ จำนวน 95 มีร้านไม่พบการจำหน่าย เครื่องสำอางที่มีสารอันตราย ได้แก่ ไฮโดรควิโนน ปรอท และกรดวิตามินเอ แต่มีร้านชำ 1 ร้าน ที่มีเครื่องสำอางที่ไม่มีเลขจดแจ้ง 2 รายการ เมื่อตรวจสอบฐานข้อมูลกับ อย. และทาง สสจ. ลำพูนแล้ว พบว่า เครื่องสำอางทั้ง 2 รายการ มีการปนเปื้อน ปรอท และ กรดวิตามินเอ ซึ่งได้ให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านชำ และเก็บออกจากชั้นวางจำหน่ายทันที 3. ร้านชำ จำนวน 93 ร้าน คิดเป็น ร้อยละ 96.9 ไม่มีอาหารที่ฉลากไม่ถูกต้องในร้านชำ โดยมีร้านชำ 2 ร้าน จำหน่ายกาแฟลดน้ำหนักที่ใช้เลข อย. ปลอม และมีการใช้สารไซบูทรามีนซึ่งเป็นยาลดน้ำหนักที่ถอนทะเบียนแล้วเพราะเป็นอันตราย มีผลข้างเคียง ปากแห้ง คอแห้ง ลิ้นชา ใจสั่น นอนไม่หลับ เวียนศีรษะ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ หากได้รับปริมาณอาจทำให้ถึงขั้นเสียชีวิต ได้ให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านชำ และเก็บออกจากชั้นวางจำหน่ายทันที ส่วนร้านชำอีก 1 ร้าน พบเครื่องดื่มรังนกบรรจุในภาชนะปิดสนิทไม่มีเลข อย. จำหน่ายในราคาถูก เข้าข่ายอาหารปลอม และอาจใช้ยางคารายาซึ่งเป็นยางไม้มาทำเป็นรังนก ได้แจ้ง สสจ. ลำพูน และให้คำผู้ประกอบการร้านชำไม่ให้นำมาจำหน่าย 4. ร้านชำ จำนวน 65 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 67.7 ไม่มีสินค้าที่หมดอายุจำหน่ายในร้าน (ถ้าพบเพียง ๑ รายการ ก็ถือว่ามีสินค้าหมดอายุ) อย่างไรก็ตาม ร้านชำร้อยละ 85.4 ของร้านชำทั้งหมด ไม่มีสินค้าหมดอายุเกิน 2 รายการ 5. ร้านชำทั้งหมด ร้อยละ 100 มีการแสดงป้ายเตือนการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ ได้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยก่อนหน้าจะแจกป้าย ร้านชำจำนวน 72 ร้าน มีการจำหน่ายบุหรี่ แต่ไม่มีป้ายเตือนจำนวน 30 ร้าน และร้านที่จำหน่ายบุหรี่ทั้งหมดเป็นป้ายเตือนรุ่นเก่า คือ ห้ามขายบุหรี่แก่บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี และร้านชำจำนวน 66 ร้าน มีการจำหน่ายสุรา แต่ไม่มีป้ายเตือนจำนวน 12 ร้าน และได้แจกป้ายรุ่นใหม่ให้กับร้านชำที่ป้ายเตือนเก่าชำรุดหลุดลอกเรียบร้อยแล้ว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ประกอบการได้รับคำแนะนำแนวทางในการพัฒนาร้านตามลักษณะร้านชำที่มีมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
|
95 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน) |
4.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 95 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 95 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจเยี่ยมร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน (2) อบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
รหัสโครงการ 61-L7236-1-03 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2560 - 17 พฤศจิกายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ได้รายชื่อสินค้าในร้านชำที่หมดอายุ เพื่อใช้เป็นตัวบ่งชี้(Indicator)ในการค้นหาสินค้าหมดอายุในร้านชำ เพื่อทำการตรวจร้าน
ผลการสำรวจรายชื่อสินค้า
ใช้เป็นตัวบ่งชี้(Indicator) ในการสุ่มหาสินค้าหมดอายุในร้านชำ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
มีกลุ่มผู้ประกอบการร้านชำเทศบาลเมืองลำพูน เพื่อเเจ้งข่าวสารสินค้าไม่ปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นอันตราย เช่น ครีมอันตราย กาแฟลดน้ำหนัก ผสมไซซาบูทรามีน
กลุ่ม Line ผู้ประกอบการร้านชำเทศบาลเมืองลำพูน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
การเฝ้าระวัง อาหาร ยา เเละผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน จากการสำรวจร้านชำซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าในชุมชนเเละให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำทำให้ผู้บริโภคสามารถเลือกสินค้าบริการที่ปลอดภัยในชุมชน
สินค้ากาแฟลดน้ำหนักที่ปลอมปนไซซาบูทรามีน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
มีการอบรมพัฒนาร้านชำต้นเเบบ โดยเชิญพาณิชย์จังหวัดลำพูนมาบรรยายเเนวทางการพัฒนาจัดการร้านส้รางความเเตกต่างให้สามารถดำรงอยู่เเลพเเข่งขันได้กับร้าาน Modern trade รวมถึงการเข้าร่วมโครงการร้านธงฟ้าเเละการติดตั้งเครื่องรูดบัตรสวัสดิการเเห่งรัฐ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
ตั้งกฏกติการ้านชำไม่จำหน่ายยาปฏิชีวนะยาอันตราย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
ยึดยาปฏิชีวนะเเละยาอันตรายหากมีการจำหน่ายโดยโครงการนี้ได้ดำเนินารติดต่อกันหลายปีร้านชำหลายเเห่งทราบเเละให้ความร่วมมือไม่จำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาอันตราย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
ชุดความรู้ที่ให้กับผู้ปาระกอบการร้านชำมีเรื่อง พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เเละยาสูบเขตที่จำหน่ายเครื่องดื่มเเอลกอฮอล์(Zoning)
-การดำเนิงานคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งได้เชิญวิทยากรจากหน่วยงาน
1.สรรพสามิตพื้นที่
2.พาณิชย์จังหวัด
3.สสจ.ลำพูน
4.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลำพูน
-การพัฒนาร้านชำต้นเเบบ
-กำหนดการ
-เอกสารประกอบการอบรม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
รหัสโครงการ 61-L7236-1-03 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2560 - 17 พฤศจิกายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | ได้รายชื่อสินค้าในร้านชำที่หมดอายุ เพื่อใช้เป็นตัวบ่งชี้(Indicator)ในการค้นหาสินค้าหมดอายุในร้านชำ เพื่อทำการตรวจร้าน |
ผลการสำรวจรายชื่อสินค้า |
ใช้เป็นตัวบ่งชี้(Indicator) ในการสุ่มหาสินค้าหมดอายุในร้านชำ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | มีกลุ่มผู้ประกอบการร้านชำเทศบาลเมืองลำพูน เพื่อเเจ้งข่าวสารสินค้าไม่ปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นอันตราย เช่น ครีมอันตราย กาแฟลดน้ำหนัก ผสมไซซาบูทรามีน |
กลุ่ม Line ผู้ประกอบการร้านชำเทศบาลเมืองลำพูน |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค | การเฝ้าระวัง อาหาร ยา เเละผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน จากการสำรวจร้านชำซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าในชุมชนเเละให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำทำให้ผู้บริโภคสามารถเลือกสินค้าบริการที่ปลอดภัยในชุมชน |
สินค้ากาแฟลดน้ำหนักที่ปลอมปนไซซาบูทรามีน |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ | มีการอบรมพัฒนาร้านชำต้นเเบบ โดยเชิญพาณิชย์จังหวัดลำพูนมาบรรยายเเนวทางการพัฒนาจัดการร้านส้รางความเเตกต่างให้สามารถดำรงอยู่เเลพเเข่งขันได้กับร้าาน Modern trade รวมถึงการเข้าร่วมโครงการร้านธงฟ้าเเละการติดตั้งเครื่องรูดบัตรสวัสดิการเเห่งรัฐ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน | ตั้งกฏกติการ้านชำไม่จำหน่ายยาปฏิชีวนะยาอันตราย |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน | ยึดยาปฏิชีวนะเเละยาอันตรายหากมีการจำหน่ายโดยโครงการนี้ได้ดำเนินารติดต่อกันหลายปีร้านชำหลายเเห่งทราบเเละให้ความร่วมมือไม่จำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาอันตราย |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) | ชุดความรู้ที่ให้กับผู้ปาระกอบการร้านชำมีเรื่อง พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เเละยาสูบเขตที่จำหน่ายเครื่องดื่มเเอลกอฮอล์(Zoning) -การดำเนิงานคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งได้เชิญวิทยากรจากหน่วยงาน 1.สรรพสามิตพื้นที่ 2.พาณิชย์จังหวัด 3.สสจ.ลำพูน 4.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลำพูน -การพัฒนาร้านชำต้นเเบบ |
-กำหนดการ -เอกสารประกอบการอบรม |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการตรวจเยี่ยมร้านชำเเละอบรมผู้ประกอบการร้านชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน จังหวัด ลำพูน
รหัสโครงการ 61-L7236-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( พงษ์นรินทร์ จินดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......