กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ


“ โครงการมหกรรมตลาดนัดทันตสุขภาพ เพื่อเด็กลาโละ ฟันดี ปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียัม มะเกะ

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมตลาดนัดทันตสุขภาพ เพื่อเด็กลาโละ ฟันดี ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2514-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหกรรมตลาดนัดทันตสุขภาพ เพื่อเด็กลาโละ ฟันดี ปี ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหกรรมตลาดนัดทันตสุขภาพ เพื่อเด็กลาโละ ฟันดี ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหกรรมตลาดนัดทันตสุขภาพ เพื่อเด็กลาโละ ฟันดี ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2514-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) เด็กปฐมวัย เป็นช่วงที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างเสริมสุขภาพพัฒนาการ และพฤติกรรมด้านสุขภาพ ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็กในระยะยาว สิ่งแวดล้อม อาหาร การอบรมเลี้ยงดู จากบิดามารดาและผู้เลี้ยงดูเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยหล่อหลอมให้เด็กมีพัฒนาการดีทั้งร่างกายและอารมณ์สังคม และสติปัญญา ด้วยวิวัฒนาการทางสังคมได้ จากการศึกษาของกรมอนามัยเรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัยไทย ปี ๒๕๕๗ พบว่าปัจจัยทางชีวภาพด้านสุขภาพของเด็ก ได้แก่ โรคประจำตัว โรคปอดบวม ปัญหาสุขภาพช่องปาก การขาดสารอาหาร(W/A) น้ำหนักตามส่วนสูง (W/H) ส่วนสูง (H/A) และภาวการณ์เจริญเติบโต มีความสัมพันธ์ต่อพัฒนาการสมวัยของเด็ก โดยเด็กที่ไม่มีโรคประจำตัว จะมีโอกาสที่พัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น ๑.๓๘ เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กที่มีโรคประจำตัว เด็กปฐมวัยที่ไม่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก จะมีโอกาสที่พัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น ๑.๔๓ เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก การค้นพบปัญหาสุขภาพ ปัญหาพัฒนาการผิดปกติหรือภาวะเสี่ยงตั้งแต่แรกเริ่มในขวบปีแรกๆ โดยเฉพาะก่อน ๓ ปี เพื่อเร่งให้การช่วยเหลือที่เหมาะสมจะสามารถลดความรุนแรงของปัญหา ลดความพิการและความสูญเสียด้านต่างๆ
ข้อมูลพื้นฐานสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลลาโละ จากรายงานโปรแกรม JHCIS และรายงาน Health Data Center (HDC) จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๕๙ และปี ๒๕๖๐ พบว่า เด็กอายุ 0-5 ปีมีสูงดีสมส่วน ร้อยละ 50.69 และ 58.29 ตามลำดับ เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 96.13 และ ร้อยละ 100 ตามลำดับ และเด็กอายุ 0-5 ปีมีฟันไม่ผุร้อยละ 62.12 และ 58.08 ตามลำดับ การดำเนินงานเพื่อให้เด็กลาโละอายุ ๐ – ๕ ปี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัย ฟันไม่ผุ นั้นต้องเริ่มตั้งแต่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงมีครรภ์ เด็ก ๐ – ๕ ปี ทุกภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องต้องร่วมมือในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การส่งเสริมพัฒนาการโดยเน้นการปลูกฝังให้เด็กกินผัก และการดูแลสุขภาพช่องปาก เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป สำหรับกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กเล็ก จะมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้ดูแลเด็กเล็กทั้งในส่วนของ อสม.และผู้ปกครองให้มีความรู้ในการจัดการสุขภาพของลูกหลานในชุมชน โดยการพัฒนาขีดความสามารถในการตรวจเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากเด็ก การแปรงฟันให้เด็กได้สม่ำเสมอ การตรวจคราบจุลินทรีย์ให้เด็กได้ และการสร้างสิ่งแวดล้อมในด้านการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ในขณะเดียวกันให้สามารถผลิตสื่ออย่างง่ายในการใช้กระตุ้นติดตามสภาวะช่องปากของเด็กในชุมชนได้ ร่วมกับการพัฒนาการให้บริการฟลูออไรด์วาร์นิชที่มีคุณภาพ
ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ จึงเห็นความสำคัญของการพัฒนากิจกรรมให้มีคุณภาพและพัฒนาชุมชนให้เป็นต้นแบบชุมชนต้นแบบที่เข้มแข็งในการจัดการสุขภาพเด็กเล็ก จึงได้จัดทำโครงการมหกรรมตลาดนัดทันตสุขภาพ เพื่อเด็กลาโละฟันดี เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากให้ฟันดีด้วยวิถี Selfcareปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ ๙ – ๓๖ เดือนได้รับการแปรงฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง
  2. เพื่อให้เด็กอายุ ๙ – ๓๖ เดือนมีฟันที่สะอาดปราศจากคราบจุลินทรีย์
  3. ผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากชองกลุ่มเป้าหมายและทุกคนมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น
  4. ผู้ปกครองที่ได้รับการฝึกทักษะการดูแลมีการนำไปปฏิบัติจริง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย อสม. เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ (ระยะเวลา ๑ วัน)
  2. บรมผู้ดูแลเด็กอายุ 9-36 เดือน ในการดูแลสุขภาพช่องปาก (ระยะเวลา 2 วัน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 82
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย อสม. เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ (ระยะเวลา ๑ วัน)

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย อสม.เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.กลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการอบรมและมีความรู้เพิ่มขึ้น อสม.ทุกคนที่ผ่านการอบรมปฏิบัติหน้าที่โดยการเยิ่ยมบ้านติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง อย่างต่อเนื่อง

 

40 0

2. บรมผู้ดูแลเด็กอายุ 9-36 เดือน ในการดูแลสุขภาพช่องปาก (ระยะเวลา 2 วัน)

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมผู้ดูแลเด็กอายุ 9-36 เดือน ในการดูแลสุขภาพช่องปาก วันที่ 24,31 กรกฏาคม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เพื่อให้เด็กอายุ 9-36 เดือนได้รับการแปรงพันทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งร้อยละ 89.28 2.เพื่อให้เด็กอายุ 9-36 เดือนมีฟันที่สะอาดปราศจากคราบจุลินทรีย์ ร้อยละ 86.90 3.ผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยล  100 ของกลุ่มเป้าหมายและทุกคนมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น 4.ผู้ปกครองที่ได้รับการฝึกทักษาการดูแลมีการนำไปปฏิบัติจริง ร้อยละ 89.28

 

42 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ ๙ – ๓๖ เดือนได้รับการแปรงฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กอายุ ๙ – ๓๖ เดือนได้รับการแปรงฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ ๙ – ๓๖ เดือนมีฟันที่สะอาดปราศจากคราบจุลินทรีย์
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กอายุ ๙ – ๓๖ เดือนมีฟันที่สะอาดปราศจากคราบจุลินทรีย์ ร้อยละ ๘๐
80.00

 

3 ผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากชองกลุ่มเป้าหมายและทุกคนมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80 ชองกลุ่มเป้าหมายและทุกคนมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น
80.00

 

4 ผู้ปกครองที่ได้รับการฝึกทักษะการดูแลมีการนำไปปฏิบัติจริง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองที่ได้รับการฝึกทักษะการดูแลมีการนำไปปฏิบัติจริง ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 82
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ ๙ – ๓๖ เดือนได้รับการแปรงฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง (2) เพื่อให้เด็กอายุ ๙ – ๓๖ เดือนมีฟันที่สะอาดปราศจากคราบจุลินทรีย์  (3) ผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากชองกลุ่มเป้าหมายและทุกคนมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น  (4) ผู้ปกครองที่ได้รับการฝึกทักษะการดูแลมีการนำไปปฏิบัติจริง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย  อสม. เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ (ระยะเวลา ๑ วัน) (2) บรมผู้ดูแลเด็กอายุ 9-36 เดือน ในการดูแลสุขภาพช่องปาก (ระยะเวลา 2 วัน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหกรรมตลาดนัดทันตสุขภาพ เพื่อเด็กลาโละ ฟันดี ปี ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2514-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารียัม มะเกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด