กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 ”

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางธัญทิพามูสิกะปาละ

ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดเชื้อเนื่องมาจากแบบแผนชีวิตมนุษย์ที่มีความเครียดมากขึ้น มีนิสัยการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ขาดการออกกำลังกาย สิ่งต่างๆเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดโรคจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เป็นโรคเรื้อรังรักษาไม่หาย ความรุนแรงของโรคเกิดได้ทั้งตายอย่างฉับพลัน และมีภาวะแทรกซ้อนเกิดความพิการก่อนวัยอันควร อย่างไรก็ตามโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคที่สามารถป้องกันและลดความรุนแรงของโรคลงได้ ถ้าหากตรวจพบในระยะเริ่มแรก โดยการควบคุมอาหาร หลีกเลี่ยงต่างๆมีการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขกายจิตให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านท่ามะเดื่อ มีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 31 ราย แบ่งเป็นรายเก่า 29 ราย และรายใหม่ 2 ราย กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 83 ราย อัตรผู้ป่วยเบาหวานควบคุมได้จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.48 อัตราผู้ป่วยเบาหวานต่อกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 2.41 จากตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข กำหนดร้อยละของผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี มากกว่าหรือเท่ากับ 40 และอัตราผู้ป่วยเบาหวานต่อกลุ่มเสี่ยง ไม่เกิดร้อยละ 2.40 ซึ่งไม่ผ่านตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข และมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 71 ราย แบ่งเป็นรายเก่า 69 ราย และรายใหม่ 2 ราย กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 124 ราย อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตควบคุมได้จำนวน 26 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.61 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงต่อกลุ่มเสี่ยง 2.41 จากตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข กำหนดร้อยละของผู้ป่วยที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี มากกว่าหรือเท่ากับ 50 ซึ่งไม่ผ่านตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านท่ามะเดื่อ จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้่อรัง เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 124
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้เรื่องโรค และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ อย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง 3 อ 2 ส 2.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติและลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานได้ 3.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้พัฒนากระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 4.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำเอกสารประกอบการบรรยาย เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส.และการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสมของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2.แต่งตั้งคณะทำงานของชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3.คัดเลือกบุคคลต้นแบบ และแกนนำ เพื่อเป็นตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและช่วยเหลือสมาชิกในชมรม 4.คัดเลือกแกนนำพิชิตโรคเรื้อรังเพื่อดูแลและช่วยเหลือซึ่งกันและกันและสนใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยแบ่งเขตรับผิดชอบตามละแวกบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้เรื่องโรค และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ อย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง 3อ.2ส. 2.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามรถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติและลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานได้ 3.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้พัฒนากระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 4.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 124
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 124
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธัญทิพามูสิกะปาละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด