กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ”

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์รอดชุม

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

ที่อยู่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ควันบุหรี่ส่งผลกระทบด้านสุขภาพทั้งต่อตัวผู้สูบและคนไม่สูบ(แต่ได้รับสูดดมควัน) หรือที่เรียกกันว่า "ควันบุหรี่มือสอง"คือควันจากปลายมวนบุหรี่ที่จุดไฟ และควันที่ผู้สูบบุหรี่สูดเข้าไปและหายใจออกมาประกอบด้วยสารเคมีมากกว่า 7,000 ชนิด และมีถึง 70 ชนิด ที่เป็นสารก่อมะเร็ง ควันบุหรี่มีผลต่อผู้สูบและผู้ไม่สูบได้รับควันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว สถานการณ์ทั่วโลกยังมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 5 ล้านคน และคาดการณ์ว่าจะเพิ่มเป็นปีละ 10 ล้านคน ในปี พ.ศ.2573 มีรายงานจากกระทรวงสาธารณสุขสหรัฐอเมริกาปี 2547 รายงานโรคต่างๆที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง 36 ชนิด ด้วยกันได้แก่ โรคมะเร็ง 10 ชนิด โรคหัวใจและหลอดเลือด 4 ชนิด โรคระบบสืบพันธ์ 4 ชนิด และโรคอื่นๆอีก 6 ชนิด คนไทยเสียชีวิตจากโรคที่่เกิดจากการสูบบุหรี่ ปีละ 42000 คน หรือวันละ 115 คน หรือชั่วโมงละ 5 คน ปัจจุบันแม้ว่าประเทศไทยเป็นที่ยอมรับจากสากลในเรื่องความก้าวหน้าในการควบคุมการบริโภคยาสูบ จากทั้งกฎ ระเบียบ และพ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ออกมาบังคับใช้ แต่ก็ยังมีคนไทยที่สูบบุหรี่มากกว่า 10 ล้านคน มากกว่าร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และที่สำคัญที่น่าเป็นห่วงมาก คือ ควันบุหรี่มีผลต่อเด็กโดยพบว่า เด็กจะได้รับอันตรายจากควันบุหรี่มือสองมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากมีขนาดของร่างกายที่เล็กกว่า มีอัตราการหายมากกว่า และมีระบบการหายใจร่วมกับระบบภูมิต้านทานที่ยังทำงานได้ไม่เต็มที่ อีกทั้งควันบุหรี่มืองสองสัมพันธ์กับการเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในเด็กหลายอย่าง เช่น การตายอย่างเฉียบพลันในวัยทารก และที่สำคัญเด็กที่อยู่ในบ้านที่มีคนสูบบุหรี่ก็มีแนวโน้มที่จะเริ่มสูบบุหรี่ในอนาคตมากกว่า สำหรับพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะเดื่อพบผู้สูบบุหรี่ที่ยังอาศัยอยู่ในพื้นที่ทั้งสิ้น 98 คน คิดเป็นร้อยละ 9.13 ของประชากรทั้งหมดและเกือบทั้งหมดเป็นผู้ชาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาที่เกิดจากพิษภัยของบุหรี่จึงได้จัดทำโครงการชุมชนปลอดบุหรี่ ขึ้นเพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดี และเพื่อถวายเป็นพระราชกูศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันพิษภัยของบุหรี่ มีความสามารถในการจัดการตนเองให้ห่างไกลบุหรี่โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย เกิดมาตรการทางสังคมและมีการสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ในชุมชน มีคลินิกช่วยเลิกบุหรี่ในสถานบริการซึ่งเป็นช่องทางในการแนะนำติดตามการลด ละ เลิกบุหรี่ และมีบุคคลต้นแบบซึ่งแบบอย่างที่ดีที่จะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่ได้ตระหนักและห่างไกลจากพิษภัยของบุหรี่ นำไปสู่การเป็นชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ระยะเตรียมการ 2.ระยะดำเนินการกิจกรรมในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันพิษภัยของบุหรี่ มีความสามารถในการจัดการตนเองให้ห่างไกลบุหรี่โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย เกิดมาตรการทางสังคมและมีการสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ในชุมชน มีคลินิกช่วยเลิกบุหรี่ในสถานบริการซึ่งเป็นช่องทางในการแนะนำติดตามการลด ละ เลิกบุหรี่ และมีบุคคลต้นแบบซึ่งแบบอย่างที่ดีที่จะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่ได้ตระหนักและห่างไกลจากพิษภัยของบุหรี่ นำไปสู่การเป็นชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปริมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

 

99 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณรงค์รอดชุม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด