กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการ การจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่.10 บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง


“ โครงการ การจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่.10 บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1…นางรำจวนระฆังทอง 2…นางจิราพร ศรีชุม3…นางสาวสตีหามีน๊ะหัสนี4…นางสาวฮุสนามณีหยัน5…นางนูดไอนีสตอหลง

ชื่อโครงการ โครงการ การจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่.10 บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-50097-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ การจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่.10 บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ การจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่.10 บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ การจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่.10 บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-50097-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,035.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก (WHO, 2013) พบว่า โรคความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตายทั่วโลก สูงถึง 7.5 ล้านคน หรือร้อยละ 12.8 ของสาเหตุการตายทั้งหมด ทั้งยังมีผลสูญเสียปีสุขภาวะ 57 ล้านปีหรือ คิดเป็นร้อยละ 3.7 ของ DALYs จำนวนผู้ที่มีความดันโลหิตสูงทั่วโลกพบว่ามีจำนวนเกือบถึงพันล้านคน ซึ่งสอง ในสามจะอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา และมีการคาดการณ์ว่าจะมีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงทั่ว โลก เพิ่มขึ้นถึงเป็น 1.56 พันล้านคน ในปีพ.ศ. 2568 โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น การมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ ซึ่งนำมาสู่ภาระโรคที่เพิ่มขึ้น
สำหรับสถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย จากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2556 – 2560) เพิ่มขึ้นจาก 12,342.14 (จำนวน 3,936,171 คน) เป็น 14,926.47 (จำนวน 5,597,671 คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขอัตราการป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2558 – 2560) เพิ่มขึ้นจาก 916.89 (จำนวน 540,013 คน) เป็น 1,353.01 (จำนวน 813,485 คน) ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลสถานการณ์แนวโน้มการเกิดโรคของจังหวัดสตูลจากการคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปใน ปี๒๕๕๙จำนวน 88,733 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน74,216 คน คิดเป็นร้อยละ 83.64 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 18,176 คน คิดเป็นร้อยละ 24.49และกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 3,805 คน คิดเป็นร้อยละ 5.13ทำให้มีกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังทั้งสิ้นถึง ๒๑,๙๘๑ คน คิดเป็นร้อยละ๒๙.๖๐และในปี ๒๕๖0 จำนวน 93,697 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 87,584 คน คิดเป็นร้อยละ 93.48พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 21,430 คน คิดเป็นร้อยละ 24.47 และกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 3,672 คน คิดเป็นร้อยละ 4.19ทำให้มีกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังทั้งสิ้นถึง ๒๕,๑๐๒ คน คิดเป็นร้อยละ๒๘.๖๖ (https://stn.hdc.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php) รวมทั้งผลจากการคัดกรองภาวะความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในปี ๒๕๖0 (ข้อมูลในหมู่ที่ 1-4 และ 10 -13 ตำบลฉลุงจำนวน 1,778 คนพบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน1,125 คนคิดเป็นร้อยละ 63.27..คัดกรองซ้ำในกลุ่มเสี่ยงพบว่ายังมีความดันโลหิตสูงทั้งหมด 429 คน คิดเป็นร้อยละ ๓๘.๑๓ และพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์สูงที่สุดคือหมู่ที่...10บ้านโต๊ะวัง...ตำบลฉลุง (จากการคัดกรอง 108คนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน ๘๒ คนคิดเป็นร้อยละ 75.92 พบจึงได้คัดกรองซ้ำจำนวน 82 คน พบว่ายังมีความดันโลหิตสูงทั้งหมด45คน คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๘๘ ) ซึ่งสอดคล้องกับแผนประชาคมท้องถิ่นและหมู่บ้านปี ๒๕๖๐ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลฉลุง ซึ่งเป็นหน่วยงานระดับปฐมภูมิของกระทรวงสาธารณสุขที่รับผิดชอบพื้นที่ดังกล่าวจึงได้จัดโครงการการจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่ 10บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง ขึ้นเพื่อเป็นต้นแบบการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงดังกล่าวสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้นจากกลุ่มสงสัยป่วยเป็นแค่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงลดลงเป็นกลุ่มเฝ้าระวังอย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ตามเกณฑ์การควบคุมคนไข้โรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้ของกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ ๒๕๖๑

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อลดกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงลดลงเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๕๐
  2. ๒.เกิดชมรมในพื้นที่เพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน ๑ ชมรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.ขั้นเตรียม ๑.๑ ทีมสุขภาพสร้างความเข้าใจกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลฉลุง ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ,ผู้นำศาสนา, สมาชิก อบต., อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๑๐ทุกคน,ตัวแทนผู้สูงอายุในชุมชน , แกนนำกลุ่มต่างๆ ,กลุ่มเส
  2. 2. ขั้นดำเนินการ ๒.๑ กิจกรรมสร้างข้อตกลงร่วมกัน ( ๓ ชั่วโมง) - ประเมินความรู้ก่อนดำเนินกิจกรรมโครงการ - สร้างความคาดหวังของกลุ่มชุมชน - สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง - สอน/สาธิต การวัดความดันโลหิตที่บ้านที่ถูกต้อง พร้อมแจกแบบฟอ
  3. ๒.๒ กิจกรรม ในชุมชน เรื่อง ๓ อ. ๒ ส. ในพื้นที่ อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง X ๓ ครั้ง ครั้งที่ ๑ ( ๓ ชั่วโมง) - ประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายที่วัดความดันโลหิตได้ครบ ๗ วัน กลุ่มแรก - ค้นหาปัจจัยเสี่ยงร่วมกันวางแผ
  4. กิจกรรมในชุมชน เรื่อง 3อ 2ส ในพื้นที่ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง*3 ครั้งที่ 2 (6ชั่วโมง) - ประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายที่วัดความดันได้ครบ 7 วัน กลุ่มที่ 2 - จัดกิจกรรมให้ความรู้/สาธิตเรื่อง 3อ. 2ส..โดยทีมวิทยกรสาธารณสุขอำเภอเมือง
  5. ๓.ขั้นประเมินผล 3.ขั้นประเมินผลและจัดทำเอกสารกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ฉลุง
  6. ครั้งที่ ๓ ( 6 ชั่วโมง) - จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยน - ประเมินความรู้หลังดำเนินกิจกรรมโครงการ - สรุปกิจกรรมโครงการร่วมกันพร้อมกับวางแผนต่อเนื่องโดยชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงลดลงเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๕๐

๒.เกิดชมรมในพื้นที่เพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน๑ ชมรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อลดกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงลดลงเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๕๐
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 45 คน เหลือ ๒๕ คน
0.00

 

2 ๒.เกิดชมรมในพื้นที่เพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน ๑ ชมรม
ตัวชี้วัด : ชมรมในพื้นที่เพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน ๑ ชมรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)  ๑.เพื่อลดกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงลดลงเป็นกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๕๐ (2) ๒.เกิดชมรมในพื้นที่เพื่อนช่วยเพื่อนจำนวน  ๑ ชมรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.ขั้นเตรียม  ๑.๑ ทีมสุขภาพสร้างความเข้าใจกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลฉลุง ประกอบด้วย  ผู้นำชุมชน ,ผู้นำศาสนา, สมาชิก อบต., อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๑๐ทุกคน,ตัวแทนผู้สูงอายุในชุมชน , แกนนำกลุ่มต่างๆ ,กลุ่มเส (2) 2. ขั้นดำเนินการ  ๒.๑ กิจกรรมสร้างข้อตกลงร่วมกัน  ( ๓ ชั่วโมง)  - ประเมินความรู้ก่อนดำเนินกิจกรรมโครงการ  - สร้างความคาดหวังของกลุ่มชุมชน  - สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง  - สอน/สาธิต การวัดความดันโลหิตที่บ้านที่ถูกต้อง พร้อมแจกแบบฟอ (3) ๒.๒ กิจกรรม ในชุมชน เรื่อง  ๓ อ. ๒ ส. ในพื้นที่ อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง X ๓ ครั้ง    ครั้งที่ ๑  ( ๓ ชั่วโมง)          -  ประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายที่วัดความดันโลหิตได้ครบ ๗  วัน กลุ่มแรก        - ค้นหาปัจจัยเสี่ยงร่วมกันวางแผ (4) กิจกรรมในชุมชน เรื่อง 3อ 2ส ในพื้นที่ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง*3 ครั้งที่ 2 (6ชั่วโมง) - ประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายที่วัดความดันได้ครบ 7 วัน กลุ่มที่ 2  - จัดกิจกรรมให้ความรู้/สาธิตเรื่อง 3อ. 2ส..โดยทีมวิทยกรสาธารณสุขอำเภอเมือง (5) ๓.ขั้นประเมินผล  3.ขั้นประเมินผลและจัดทำเอกสารกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ฉลุง (6) ครั้งที่ ๓ ( 6 ชั่วโมง)      - จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยน        - ประเมินความรู้หลังดำเนินกิจกรรมโครงการ      - สรุปกิจกรรมโครงการร่วมกันพร้อมกับวางแผนต่อเนื่องโดยชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ การจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ หมู่ที่.10 บ้านโต๊ะวัง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-50097-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1…นางรำจวนระฆังทอง 2…นางจิราพร ศรีชุม3…นางสาวสตีหามีน๊ะหัสนี4…นางสาวฮุสนามณีหยัน5…นางนูดไอนีสตอหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด