กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง


“ โครงการ หนูน้อยฟันสวย ”

ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางยูวาเฮ มะเเซ

ชื่อโครงการ โครงการ หนูน้อยฟันสวย

ที่อยู่ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 2561-L2513-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ หนูน้อยฟันสวย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ หนูน้อยฟันสวย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ หนูน้อยฟันสวย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 2561-L2513-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ฟันเป็นอวัยวะสำคัญของร่างกายที่ช่วยให้เด็กมีรอยยิ้มและรู้สึกเชื่อมั่นในตนเอง สามารถบดเคี้ยวอาหารและออกสียงได้ดี ช่องปากถือว่าเป็นประตูของสุขภาพ เป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร ความสามารถในการบดเคี้ยวและกลืนอาหารเป็นหน้าที่สำคัญของอวัยวะส่วนนี้ ส่งผลให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์และสร้างสุขภาพดี โรคฟันผุในเด็กปฐมวัยยังเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศ ในช่วง ๓๐ปีที่ผ่านมา อัตราความชุกของโรคฟันผุของเด็กในประเทศอุตสาหกรรมลดลงอย่างมากจากการใช้ฟลูออไรด์และการแปรงฟันสม่ำเสมอ แต่สำหรับประเทศไทยอัตราความชุกของโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆโดยเฉพาะในเขตชนบท จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 โดยกองทันตสาธารณสุขพ.ศ. ๒๕๕5พบว่า เด็กไทยอายุ ๓ ปี มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ 51.8 มีค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด (dmft) 2.7 ซี่/คนแม้จะเพิ่งมีฟันน้ำนมขึ้นครบแต่ร้อยละ 3.2 ของเด็กเริ่มมีประสบการณ์การสูญเสียฟันในช่องปากแล้วทั้งที่ฟันน้ำนมควรหลุดตามปกติในช่วงอายุ ๖-๑๓ ปี ส่วนภาคที่มีอัตราความชุกของโรคฟันผุในวัยนี้สูงสุดคือภาคใต้ โดยเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง พบว่าเด็กอายุ ๓ปีมีอัตราความชุกของโรคฟันผุร้อยละ ๖1.๐ค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด(dmft) 3.1 ซี่/คนรวมถึงจังหวัดนราธิวาสมีซึ่งอัตราความชุกของโรคฟันผุในปี 2559 ร้อยละ 57.46 (ฝ่ายทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส)และจากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของอำเภอรือเสาะในปี๒๕60พบว่าเด็กอายุ ๓ปีมีอัตราความชุกของโรคฟันผุถึงร้อยละ 67.3ส่วนในเขตของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลเรียง มีอัตราความชุกของโรคฟันผุถึงร้อยละ 82.14ซึ่งสูงกว่าในระดับประเทศมากจึงเป็นปัญหาสุขภาพที่ควรให้ความสนใจและควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลเรียงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพช่องปากในเด็กกลุ่มนี้ จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันสวยเพื่อเสริมสร้างให้ผู้ปกครองมีพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกน้อยตั้งแต่หลังคลอดจนถึงก่อนเข้าโรงเรียน โดยเน้นในเรื่องการให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็กแก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กร่วมกับการใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ในการป้องกันฟันผุ ซึ่งถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้และพัฒนาทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองตั้งแต่เล็ก ที่สำคัญช่วยให้เด็กไม่ต้องสูญเสียฟันก่อนกำหนด มีฟันน้ำนมที่สวย สะอาดต่อเนื่องไปถึงฟันแท้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-2 ปี มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม นำสู่การการลดภาวะการเกิดโรคในช่องปากของเด็ก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ หนูน้อยฟันสวย จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 2561-L2513-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางยูวาเฮ มะเเซ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด