กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางดารา ช่วยเรือง

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

องค์การอนามัยโลกและประเทศไทยมีเป้าหมายในการพัฒนาระบบสุขภาพ เป้าหมายสูงสุดของการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค คือ “การที่ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา”การเปลี่ยนแปลงภายใต้ยุคโลกาภิวัฒน์ ส่งผลต่อสภาพสังคมและชีวิตของคนไทยในปัจจุบันและอนาคตหลายประการ ในภาคสังคมวิถีชีวิตอุบัติใหม่ที่เป็นผลจากการพัฒนาที่ผ่านมา กำลังส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงระดับสังคมใหญ่ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น วิถีชีวิตอุบัติใหม่มีผลทำให้ครอบครัวในสังคมเมืองเปลี่ยนไป คนวัยทำงานมุ่งหาเงินสร้างฐานะมากกว่าการมีครอบครัว จึงแต่งงานช้าและมีบุตรน้อยลง ทำให้ประชากรเด็กน้อยลงทุกทีซึ่งจะส่งผลให้เกิดวิกฤติ 1:2:4 ในอนาคต (วิกฤติสังคม ที่คนรุ่นหลาน 1 คน ต้องดูแลคนรุ่นพ่อ แม่ 2 คนและต้องดูแลคนรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย 4 คน ) อย่างไรก็ดี การที่จะทำให้ประชาชนลุกขึ้นมาทำด้วยตนเองเป็นเรื่องยาก ต้องอาศัยการศึกษาและการเสริมเติมเต็มพลังปัญญาแก่ประชาชน ซึ่งที่ผ่านมา ในหมู่บ้าน/ชุมชน มี ประชาชนที่มีจิตอาสาเข้ามาดูแลสุขภาพของครอบครัว ชุมชน คือ อสม.แต่ก็ยังมีปัญหา ข้อจำกัดหลายประการที่ทำให้ อสม.ไม่สามารถดูแลสุขภาพเพื่อนบ้านในชุมชน ได้อย่างทั่วถึงได้และเพื่อเป็นการสร้างคนรุ่นหลานให้สามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา เป็นการสร้างคน เพื่อชุมชนที่เข้มแข็ง สามารถดูแลสุขภาพคนในครอบครัว/ชุมชน ต่อไปในอนาคตได้อย่างยั่งยืน ทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลท่าบอน จึงได้จัดทำ “โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ” ขึ้น

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกและประเทศไทยมีเป้าหมายในการพัฒนาระบบสุขภาพ เป้าหมายสูงสุดของการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค คือ “การที่ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา”การเปลี่ยนแปลงภายใต้ยุคโลกาภิวัฒน์ ส่งผลต่อสภาพสังคมและชีวิตของคนไทยในปัจจุบันและอนาคตหลายประการ ในภาคสังคมวิถีชีวิตอุบัติใหม่ที่เป็นผลจากการพัฒนาที่ผ่านมา กำลังส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงระดับสังคมใหญ่ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น วิถีชีวิตอุบัติใหม่มีผลทำให้ครอบครัวในสังคมเมืองเปลี่ยนไปคนวัยทำงานมุ่งหาเงินสร้างฐานะมากกว่าการมีครอบครัว จึงแต่งงานช้าและมีบุตรน้อยลงทำให้ประชากรเด็กน้อยลงทุกทีซึ่งจะส่งผลให้เกิดวิกฤติ 1:2:4 ในอนาคต (วิกฤติสังคม ที่คนรุ่นหลาน 1 คน ต้องดูแลคนรุ่นพ่อ แม่ 2 คนและต้องดูแลคนรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย 4 คน ) อย่างไรก็ดี การที่จะทำให้ประชาชนลุกขึ้นมาทำด้วยตนเองเป็นเรื่องยาก ต้องอาศัยการศึกษาและการเสริมเติมเต็มพลังปัญญาแก่ประชาชน ซึ่งที่ผ่านมา ในหมู่บ้าน/ชุมชน มี ประชาชนที่มีจิตอาสาเข้ามาดูแลสุขภาพของครอบครัว ชุมชน คือ อสม.แต่ก็ยังมีปัญหา ข้อจำกัดหลายประการที่ทำให้ อสม.ไม่สามารถดูแลสุขภาพเพื่อนบ้านในชุมชน ได้อย่างทั่วถึงได้และเพื่อเป็นการสร้างคนรุ่นหลานให้สามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืนมีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา เป็นการสร้างคน เพื่อชุมชนที่เข้มแข็ง สามารถดูแลสุขภาพคนในครอบครัว/ชุมชน ต่อไปในอนาคตได้อย่างยั่งยืน ทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลท่าบอน จึงได้จัดทำ “โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อตอเอง เพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน
  2. เพื่อให้ผู้นำนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 55
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้นำนักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปดูแลสมาชิกในครอบครัวและบุคคลรอบข้างได้
  2. ผู้นำนักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปเผยแพร่ให้เพื่อนในโรงเรียน และคนในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 55 คน โดยการแบ่งฐานความรู้ เป็น 7 ฐาน และการบรรยายทางวิชาการ เป็นเวลา 1 วัน

วันที่ 26 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 55 คน โดยการแบ่งฐานความรู้ เป็น 7 ฐาน และการบรรยายทางวิชาการ เป็นเวลา 1 วัน
 ฐานน้ำตาลหวานซ่อนร้าย  ฐานการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ  ฐานการปฐมพยาบาลและการป้องกันอุบัติเหตุ เช่น การจมน้ำ รถชน  ฐานสุขภาพจิตและยาเสพติด  ฐานคุ้มครองผู้บริโภค  ฐานทันตสาธารณสุข  ฐานเพศศึกษาและการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด

  1. ผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 96.67

  2. นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ ร้อยละ 96.67

  3. จำนวนกลุ่มเป้าหมายในโครงการ 55 คน มีผู้เข้าร่วม จำนวน 60 คน  คิดเป็นร้อยละ 100.00

 

55 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน

ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561

ชื่อโรงเรียน              เป้าหมาย (คน)        ผู้เค้าร่วมโครงการ (คน)        คิดเป็นร้อยละ

โรงเรียนบ้านรับแพรก            55                      60                    100

ที่มา : ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561

    จากตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55 คน มีผู้เข้าร่วม 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561

ความรู้ของผู้เข้ารับการอบรมก่อนการอบรม

คะแนนเต็ม            100          คะแนน

คะแนนต่ำสุด          53.33          คะแนน

คะแนนสูงสุด          93.33          คะแนน

ค่าเฉลี่ย              73.33          คะแนน

ความรู้ของผู้เข้ารับการอบรมหลังการอบรม

คะแนนเต็ม            100          คะแนน

คะแนนต่ำสุด          93.33          คะแนน

คะแนนสูงสุด          100            คะแนน
ค่าเฉลี่ย              96.67          คะแนน

ที่มา : ข้อมูลจากการทำแบบทดสอบก่อนหลังเข้าร่วมโครงการที่นำมาประมวลผลแล้ว

จากตาราง 2 จะเห็นได้ว่าหลังเข้าร่วมโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561 มีความรู้เพิ่มขึ้นจาก 73.33 เป็น 96.67 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับดีมาก

ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด

  1. ผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 96.67

  2. นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ ร้อยละ 96.67

    3. จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

    4.โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ในโรงเรียนบ้านรับแพรก หม่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561 จำนวน  60 คน  คิดเป็นร้อยละ 100.00

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อตอเอง เพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ ร้อยละ 90
90.00 96.67

ประเมินจากการวัดความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้หลังเข้าร่วมโครงการในระดับดีมาก 96.67 %

2 เพื่อให้ผู้นำนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพ เบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ ร้อยละ 90
90.00 96.67

ประเมินจากการวัดความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้หลังเข้าร่วมโครงการในระดับดีมาก 96.67 %

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 55 60
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

องค์การอนามัยโลกและประเทศไทยมีเป้าหมายในการพัฒนาระบบสุขภาพ เป้าหมายสูงสุดของการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค คือ “การที่ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา”การเปลี่ยนแปลงภายใต้ยุคโลกาภิวัฒน์ ส่งผลต่อสภาพสังคมและชีวิตของคนไทยในปัจจุบันและอนาคตหลายประการ ในภาคสังคมวิถีชีวิตอุบัติใหม่ที่เป็นผลจากการพัฒนาที่ผ่านมา กำลังส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงระดับสังคมใหญ่ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น วิถีชีวิตอุบัติใหม่มีผลทำให้ครอบครัวในสังคมเมืองเปลี่ยนไป คนวัยทำงานมุ่งหาเงินสร้างฐานะมากกว่าการมีครอบครัว จึงแต่งงานช้าและมีบุตรน้อยลง ทำให้ประชากรเด็กน้อยลงทุกทีซึ่งจะส่งผลให้เกิดวิกฤติ 1:2:4 ในอนาคต (วิกฤติสังคม ที่คนรุ่นหลาน 1 คน ต้องดูแลคนรุ่นพ่อ แม่ 2 คนและต้องดูแลคนรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย 4 คน ) อย่างไรก็ดี การที่จะทำให้ประชาชนลุกขึ้นมาทำด้วยตนเองเป็นเรื่องยาก ต้องอาศัยการศึกษาและการเสริมเติมเต็มพลังปัญญาแก่ประชาชน ซึ่งที่ผ่านมา ในหมู่บ้าน/ชุมชน มี ประชาชนที่มีจิตอาสาเข้ามาดูแลสุขภาพของครอบครัว ชุมชน คือ อสม.แต่ก็ยังมีปัญหา ข้อจำกัดหลายประการที่ทำให้ อสม.ไม่สามารถดูแลสุขภาพเพื่อนบ้านในชุมชน ได้อย่างทั่วถึงได้และเพื่อเป็นการสร้างคนรุ่นหลานให้สามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา เป็นการสร้างคน เพื่อชุมชนที่เข้มแข็ง สามารถดูแลสุขภาพคนในครอบครัว/ชุมชน ต่อไปในอนาคตได้อย่างยั่งยืน ทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลท่าบอน จึงได้จัดทำ “โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ” ขึ้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ

รหัสโครงการ 61-L5221-2-010 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 สิงหาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารา ช่วยเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด