กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ โครงการส่งเสริมอาหารวิถีไทย “มาแล้ มาแลเรินเรา เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย” ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุวรรณาล่าเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมอาหารวิถีไทย “มาแล้ มาแลเรินเรา เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย”

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-03-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมอาหารวิถีไทย “มาแล้ มาแลเรินเรา เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย” จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมอาหารวิถีไทย “มาแล้ มาแลเรินเรา เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมอาหารวิถีไทย “มาแล้ มาแลเรินเรา เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2561-L5309-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากนโยบายของรัฐบาลไทยโดยคณะกรรมการนโยบายท่องเที่ยวแห่งชาติมีมติให้ปี 2561 เป็น “ปีท่องเที่ยววิถีไทย เก๋ไก๋อย่างยั่งยืน” หรือ “Amazing Thailand Tourism Year 2018” โดยจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 - 1 มกราคม 2562 โดยส่งเสริมให้การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่เกื้อกูลเรื่องความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม จิตวิทยาและการต่างประเทศ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่ต้องบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อนำประเทศไทยไปสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพที่เจริญเติบโตอย่างมีดุลยภาพบนพื้นฐานของความเป็นไทยโดยนำรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนำของโลกที่เติบโตอย่างแข็งแรง กระทรวงสาธารณสุข โดย กรมอนามัยได้ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน ให้ภาคีเครือข่ายดำเนินการพัฒนาสถานประกอบการด้านอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้ได้มาตรฐาน โดยได้ดำเนินการจัดทำมาตรฐาน ออกกฎกระทรวง และคำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้เป็นแนวทางในการควบคุมกำกับสถานประกอบการด้านอาหารในพื้นที่ และส่งเสริมการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารโดยได้จัดทำมาตรฐานตลาดสดน่าซื้อสำหรับรับรองมาตรฐานตลาดสด และจัดทำมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย เพื่อรับรองมาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร อาหารเป็นปัจจัยหนึ่งซึ่งมีความสำคัญต่อสุขภาพของประชาชน และอาหารปลอดภัยที่ประชาชนบริโภคนั้น ต้องปราศจากเชื้อโรค อาหารเป็นพิษ หรือปนเปื้อนจากเชื้อโรคทางเดินอาหารและสารเคมี ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย จึงต้องมีระบบการดูแล ควบคุม และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัย อาหารที่ผลิตทุกขั้นตอนตลอดห่วงโซ่อาหาร ( Food Chain) ตั้งแต่วัตถุดิบ การผลิต การแปรรูป การจัดจำหน่าย จนถึงผู้บริโภคอาหาร หรือที่กล่าวว่าจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร ( From Farm to Table) หรือจากฟาร์มสู่ช้อน ( From Farm to Fork)
อาหารไทยเป็นอาหารเอกลักษณ์และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทยเป็นที่นิยมทั้งในประเทศไทยเองและในต่างประเทศเป็นที่ยอมรับและรู้จักอย่างแพร่หลาย เห็นได้อย่างความประสบความสำเร็จของร้านอาหารไทยในต่างประเทศ เสน่ห์ของอาหารไทยแต่ละจานมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไป มีส่วนผสมที่หลากหลายนำมาผสมผสานกันเพื่อให้เป็นเกิดความอร่อยและประทับใจ อีกทั้งอาหารไทยเป็นอาหารสุขภาพใช้ไขมันในการปรุงอาหารน้อยใช้เนื้อสัตว์น้อยเน้นผักเป็นสำคัญทำให้มีคุณค่าทางโภชนาการสูงและมีสรรพคุณทางยาในคราวเดียวกัน การปรุงแต่งกลิ่นสี รส มาจากธรรมชาติจากพืชผักดอกไม้เครื่องเทศและผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติทั้งสิ้น การจำแนกคุณค่าอาหารไทยออกได้ 3 ด้าน 1. คุณค่าทางโภชนาการอาหารไทยแต่ละจานมีสารอาหารหลายตัวสารอาหารแต่ละตัวร่างกายจะใช้ประโยชน์ได้ต้องทำงานร่วมกัน เช่น วิตามินเอที่มีอยู่ในมะเขือพวงเมื่อใส่ในแกงเขียวหวานร่างกายจะใช้วิตามินเอที่มีอยู่ในมะเขือพวงได้ก็ต้องได้ไขมันจากกะทิและโปรตีนจากไก่ เป็นต้น 2. คุณค่าสรรพคุณทางยาของผักและสมุนไพรที่เป็นเครื่องปรุงของอาหารแต่ละจาน เช่น หอมแดงและกระเทียมที่ใส่ในน้ำพริกแกงช่วยลดไขมันในเลือดเส้นใยอาหารในมะเขือพวงช่วยกวาดน้ำตาลในเลือดพริกทำให้การไหลเวียนของเลือดดีสลายลิ่มเลือดลดความดัน 3.คุณค่าทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมโดยปกติ ผักสมุนไพรเครื่องเทศแต่ละอย่างจะมีรสชาติและลักษณะเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง เช่น ขี้เหล็กจะมีรสขมมยิ่งกว่ายาขมใด ๆ เพราะภูมิปัญญาของบรรพบุรุษเมื่อนำมาทำเป็นแกงขี้เหล็กโดยมีส่วนผสมของน้ำพริกแกง (น้ำพริกแกง คือ การนำเอาสมุนไพรและเครื่องเทศหลายอย่างมาผสมเข้าด้วยกัน) กะทิและเนื้อสัตว์ทำให้อาหารจากผักที่ขมเกิดความอร่อยขึ้นมาได้ อาหารไทยมีหลายรสชาติหลากหลายอยู่ในจานเดียวกัน อาหารแต่ละรสส่งเสริมซึ่งกันและกันให้เกิดความอร่อย ดังนั้นชมรมตลาดเย็น เย็นร่วมกับ ฝ่ายเวชกรรมชุมชน โรงพยาบาลละงู ได้เล็งเห็นว่า การขับเคลื่อนการส่งเสริมอาหารวิถีไทย และการดำเนินงานสนับสนุน“ปีท่องเที่ยววิถีไทย เก๋ไก๋อย่างยั่งยืน” เป็นสิ่งที่จะนำมาพัฒนาส่งเสริมสุขภาพประชาชนในพื้นที่ได้จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมอาหารวิถีไทย “มาแล้มาแลเรินเรา เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย”ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาและฟื้นฟูอาหารพื้นบ้านในเขตเทศบาลตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
  2. เพื่อพัฒนามาตรฐานความสะอาด เรื่องการจัดการขยะสำหรับ ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารแผงลอย ในเขตเทศบาลตำบลกำแพงอำเภอละงู จังหวัดสตูล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดประชาสัมพันธ์โครงการและเชิญชวนผู้ประกอบอาหารพื้นบ้านดั้งเดิมเข้ามาร่วมกิจกรรม
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อระดมสมองในการค้นหาอาหารพื้นบ้าน เมนูอาหารพื้นบ้าน ขนมพื้นบ้าน ค้นหาตัวบุคคลที่ปรุงอาหาร ในเขตเทศบาลตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
  3. สาธิตการทำอาหารพื้นบ้านในตลาดนัดเย็น เย็น เพื่อให้นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปรับชิม รับชม
  4. มหกรรม “มาแล้ มาแลเรินเรา เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย”
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดแนวทางการส่งเสริมนำเอาอาหารพื้นบ้านมาเพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอันช่วยลดโรคและส่งเสริมสุขภาพของผู้บริโภค
  2. เกิดการพัฒนามาตรฐานความสะอาดตามหลักสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการร้านค้า

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาและฟื้นฟูอาหารพื้นบ้านในเขตเทศบาลตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนพ่อค้า แม่ค้าในตลาดเย็น เย็นและประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ มากกว่า ร้อยละ 70 2.เกิดชุดความรู้ และเมนูอาหารพื้นบ้านในเขตเทศบาลตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูลซึ่งเป็นอาหารเอกลักษณ์และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษจำนวน 1 ชุด 3.มีอาหารพื้นบ้านในเขตเทศบาลตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูลซึ่งเป็นอาหารเอกลักษณ์และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษมาวางจำหน่ายในตลาดเย็น เย็น อย่างน้อย 10ชนิด
0.00

 

2 เพื่อพัฒนามาตรฐานความสะอาด เรื่องการจัดการขยะสำหรับ ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารแผงลอย ในเขตเทศบาลตำบลกำแพงอำเภอละงู จังหวัดสตูล
ตัวชี้วัด : 1..จำนวนพ่อค้า แม่ค้าในตลาดเย็น เย็น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ มากกว่า ร้อยละ 70 2.ร้อยละ 80 ของร้านค้าแผงลอยในเขตเทศบาลตำบลกำแพงอำเภอละงู จังหวัดสตูลได้พัฒนาการจัดการขยะในร้านค้า ร้านอาหารแผงลอยของตนเอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาและฟื้นฟูอาหารพื้นบ้านในเขตเทศบาลตำบลกำแพง อำเภอละงู  จังหวัดสตูล  (2) เพื่อพัฒนามาตรฐานความสะอาด เรื่องการจัดการขยะสำหรับ ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารแผงลอย ในเขตเทศบาลตำบลกำแพงอำเภอละงู  จังหวัดสตูล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดประชาสัมพันธ์โครงการและเชิญชวนผู้ประกอบอาหารพื้นบ้านดั้งเดิมเข้ามาร่วมกิจกรรม (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อระดมสมองในการค้นหาอาหารพื้นบ้าน เมนูอาหารพื้นบ้าน ขนมพื้นบ้าน ค้นหาตัวบุคคลที่ปรุงอาหาร ในเขตเทศบาลตำบลกำแพง อำเภอละงู  จังหวัดสตูล (3) สาธิตการทำอาหารพื้นบ้านในตลาดนัดเย็น เย็น เพื่อให้นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปรับชิม รับชม  (4) มหกรรม “มาแล้  มาแลเรินเรา  เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย” (5) สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมอาหารวิถีไทย “มาแล้ มาแลเรินเรา เข้าติ๊ไฟ มากินของหร้อย” จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-03-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุวรรณาล่าเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด