กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการลดอ้วนในวัยเรียน ”

ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางดารา ช่วยเรือง

ชื่อโครงการ โครงการลดอ้วนในวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดอ้วนในวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดอ้วนในวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดอ้วนในวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,788.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบัน ทั้งภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยที่กำลังพัฒนาและมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ทำให้วิถีชีวิตมีแต่ความเร่งรีบ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันอย่างมาก ทั้งเรื่องการบริโภค การใช้ชีวิตประจำวันต่างๆการบริโภคที่อาศัยความรวดเร็ว ทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในการบริโภค ได้แก่ อาหารสำเร็จรูป อาหารจานด่วน เข้ามามีบทบาทอย่างมาก ร่วมกับการบริโภคที่มากเกินความจำเป็น ซึ่งอาหารประเภทนี้ประกอบด้วยแป้ง ไขมันและน้ำตาลสูง และจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัยและอำนวยความสะดวกต่างๆ ทำให้เด็กไทยมีการเคลื่อนไหวร่างกายและออกกำลังกายน้อยลง ทำให้ร่างกายใช้พลังงานเพียงเล็กน้อย เกิดการสะสมของไขมันตามส่วนต่างๆของร่างกาย ผลกระทบที่เห็นได้ชัดเจน คือ เด็กไทยเป็นโรคอ้วนมากขึ้น จากข้อมูลของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เกี่ยวกับสัดส่วนเด็กไทยที่มีแนวโน้มสู่ภาวะเป็นเด็กอ้วนในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา พบว่าในปี 2560 เด็กในวัยเรียนจะมีสัดส่วนของเด็กอ้วนอยู่ที่ 2 ใน 10 โดยเฉพาะเด็กในเมืองจะอ้วนร้อยละ 20-25 ทั้งหมดนี้นับเป็นอุบัติการณ์โรคอ้วน ในเด็กไทยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากสถิติ ดังกล่าวชี้ได้ว่าไทยเป็นประเทศที่มีอัตราโรคอ้วนในเด็กเร็วที่สุดในโลก เฉพาะระยะ 5 ปีที่ผ่านมาเด็กวัยเรียน 6-13 ปี อ้วนเพิ่มขึ้น 15.5%กองสุขศึกษาได้สำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันโรคอ้วนของนักเรียนระดับประถมศึกษา เมื่อปี 2557 จากกลุ่มตัวอย่าง 2,004 คน กระจายทั่วประเทศ พบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างเกินครึ่ง มีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคอ้วน คิดเป็นร้อยละ 60.4 เนื่องด้วยเด็กยังขาดข้อมูลความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคอ้วน จึงไม่สามารถตัดสินใจเลือกปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขแนวโน้มเด็กไทยจะมีโอกาสเป็นโรคอ้วนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการเผชิญโรคอ้วนตั้งแต่เด็กนั้นจะเกิดผลร้ายต่อเด็กในระยะยาว และเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง คือ เด็กอ้วนเสี่ยงต่อการหยุดหายใจเมื่อหลับสนิท มีปัญหาออกซิเจนในเลือดต่ำลงในขณะนอนหลับส่งผลต่อการเจริญเติบโต มีอาการปวดศีรษะ ปัสสาวะรดที่นอน ซน สมาธิสั้น ระดับสติปัญญาต่ำ และอาจเป็นมากจนมีการทำงานของหัวใจและปอดแย่ลง ทำให้ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจขณะหลับ รวมทั้งมีโอกาสเป็นโรคเบาหวาน และเติบโตเป็นผู้ใหญ่อ้วนถึงร้อยละ 80ปัญหานี้เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก ที่บริโภคอาหารไม่มีประโยชน์ ฉะนั้น เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ยั่งยืน ต้องเพิ่มพูนความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) เรื่องโรคอ้วน หากประชากรวัยเด็กมีความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคอ้วนในระดับต่ำแล้ว มีแนวโน้มที่จะมีพฤติกรรมสุขภาพในระดับต่ำ และมีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคอ้วนและโรคเรื้อรังในวัยผู้ใหญ่ ข้อมูลจากคลินิกใกล้ใจ โรงพยาบาลระโนด งานโภชนาการวัยเรียน ตำบลท่าบอน โรงเรียนบ้านรับแพรก ช่วงตุลาคม2559-กันยายน 2560พบว่าเด็กนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน สูงถึง 15%ชมรมพัฒนาสุขภาพ ตำบลท่าบอน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการลดอ้วนในวัยเรียนขึ้น เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคอ้วน และมีภาวะโภชนาการที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคอ้วน
  2. เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพแบบบูรณาการโดยมีการอบรมความรู้เรื่องโรคอ้วนในเด็กนักเรียน
  2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถทำแบบทดสอบความรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคอ้วนถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 80
1.00 86.36

 

2 เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีค่าดัชนีมวลกายลดลง อยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 60 2. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการบริโภคและออกกำลังกายที่เหมาะสม ร้อยละ 60
1.00 75.45

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านสุขภาพเรื่องโรคอ้วน (2) เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพแบบบูรณาการโดยมีการอบรมความรู้เรื่องโรคอ้วนในเด็กนักเรียน (2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดอ้วนในวัยเรียน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารา ช่วยเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด