เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ”
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางกูรอซีด๊ะ บูละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน
ที่อยู่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3046-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3046-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจพบว่าประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง มีปัญหาด้านสุขภาพและมีวิธีดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวยังไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญของครอบครัว ได้แก่ การเจ็บป่วยเล็ๆ น้อยๆ เช่น โรคไข้หวัด ปวดศรีษะ ปวดขา โรคกะเพาะ ปัญหาโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาสุขาภาพที่มีผลกระทบต่อครอบครัวในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่ายและด้านจิตใจ ซึ่งวิธีการดูแลสุขภาพของครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วยพบว่าครอบครัวส่วนใหญ่จะทราบวิธีการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ดี นอกจากนี้ยังมีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูแลฟื้นฟูผู้พิการเพื่อลดปัญหาแผลกดทับ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น ทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งถ้ามีวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้องอาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้นทั้งที่สามารถป้องกันหรือรักษาได้
ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากผู้ป่วยขาดความรู้ หมดกำลังใจ ท้อแท้ ผู้ดูแลขาดความรู้ ความเข้าใจ หรือชุมชนขาดแนวทางในการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟู และจากข้อมูลพบว่าผู้สูงอายุหรือผู้พิการที่ถูกส่งตัวกลับมารักษาตัวต่อที่บ้านจากโรงพยาบาล จึงมักเกิดปัญหาว่ามีวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง ผู้พิการเกิดความพิการมากขึ้น เกิดแผลกดทับมากขึ้น ต้องเสียชีวิต ต้องเสียเงิน เสียเวลา พากลับไปรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลเหมือนเดิม ดังนั้นถ้าหากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนและครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้และมีระบบการเฝ้าระวัง ดูแลปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุและของผู้พิการ เพื่อลดอันตรายหรือเพื่อลดความพิการที่อาจเกิดขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง จำนวนหมู่บ้านรับผิดชอบ 5 หมู่บ้าน จำนวนประชากร 4,805 คน มีบุคลากรสาธารณสุข 7 คน แกนนำ 1 คน อสม. 54 คน โรงเรียน 3 แห่ง มัสยิส 3 แห่ง มีผู้สูงอายุ 120 คน ผู้พิการ 80 คน
จะเห็นได้ว่าจำนวนบุคลากรสาธารณสุขมีไม่เพียงพอแแก่การให้บริการโดยเฉพาะการให้บริการในชุมชน ซึ่งยังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่ยังเข้าไม่ถึง แต่เนื่องจากมีองค์กรต่างๆ ในชุมชน อีกมากมายที่ได้พัฒนาศักยภาพให้สามารถดูแลผู้สูงอายุหรือผู้พิการในชุมชนได้ น่าจะเป็นอีกทางหนึ่งที่สามารถทำได้และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวผู้ป่วยและผู้พิการ ดังนั้น โครงการนี้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ของครอบครัว ในการดูแลสุขภาพของตนเองโดยมีบุคลากรสาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุใชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพตนเองและความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงในกลุ่มเป้าหมาย อสม. เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวหมอครอบครัวผู้ดูแลผู้พิการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันและเบาหวาน
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกายและสูบบุหรี่
- กลุ่มเป็าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง สามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว จากฐานเดิมได้ร้อยละ 5 และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมชี้แจงในกลุ่มเป้าหมาย อสม. เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
วันที่ 25 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ชี้แจ้งนโยบายและกิจกรรมจัดทำโครงการโครงการเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ
ในชุมชน ประจำปี 2561
2.อบรบให้ความรู้ดังนี้
1.ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในเขต อบต.
2.สำรวจผู้สูงอายุและผู้พิการในเขต อบต.(ผู้ป่วยรายใหม่)
3.ให้คัดเลือกผู้ดูแลสุขภาพ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. สามารถแนะนำให้ความรู้การดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการได้อย่างถูกต้อง และได้คัดเลือกผู้ดูแลสุขภาพ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว เพื่อฝึกเชิงปฏิบัติจริงได้ในชุมชนได้
32
0
2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวหมอครอบครัวผู้ดูแลผู้พิการ
วันที่ 26 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ
1. รวบรวมตัวอย่างนวัตกรรม ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และ หน่วยงานที่ผลิต เพื่อให้ท้องถิ่นใช้เป็นตัวอย่าง ใน การประดิษฐ์ / ประยุกต์อุปกรณ์ฯ
2. การประยุกต์ใช้วัสดุง่ายๆ โดยมีนักวิชาชีพช่วยให้คะแนน เช่น ใช้ผ้าขาวม้ามาช่วยพยุงตัว พยุงข้อไหล่ การทำราวไม้ไผ่ สำหรับฝึกเดิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง การดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงผู้เข้าร่วมโครงการได้รับทักษะในการทากายภาพบำบัดให้กับผู้พิการ/ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง และผู้พิการ/ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงได้รับการลงเยี่ยมบ้านตามเป้าหมายที่วางไว้
204
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุใชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพตนเองและความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุใชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพตนเองและความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงในกลุ่มเป้าหมาย อสม. เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวหมอครอบครัวผู้ดูแลผู้พิการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3046-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกูรอซีด๊ะ บูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ”
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางกูรอซีด๊ะ บูละ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3046-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3046-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจพบว่าประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง มีปัญหาด้านสุขภาพและมีวิธีดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวยังไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญของครอบครัว ได้แก่ การเจ็บป่วยเล็ๆ น้อยๆ เช่น โรคไข้หวัด ปวดศรีษะ ปวดขา โรคกะเพาะ ปัญหาโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาสุขาภาพที่มีผลกระทบต่อครอบครัวในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่ายและด้านจิตใจ ซึ่งวิธีการดูแลสุขภาพของครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วยพบว่าครอบครัวส่วนใหญ่จะทราบวิธีการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ดี นอกจากนี้ยังมีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูแลฟื้นฟูผู้พิการเพื่อลดปัญหาแผลกดทับ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น ทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งถ้ามีวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้องอาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้นทั้งที่สามารถป้องกันหรือรักษาได้
ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากผู้ป่วยขาดความรู้ หมดกำลังใจ ท้อแท้ ผู้ดูแลขาดความรู้ ความเข้าใจ หรือชุมชนขาดแนวทางในการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟู และจากข้อมูลพบว่าผู้สูงอายุหรือผู้พิการที่ถูกส่งตัวกลับมารักษาตัวต่อที่บ้านจากโรงพยาบาล จึงมักเกิดปัญหาว่ามีวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง ผู้พิการเกิดความพิการมากขึ้น เกิดแผลกดทับมากขึ้น ต้องเสียชีวิต ต้องเสียเงิน เสียเวลา พากลับไปรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลเหมือนเดิม ดังนั้นถ้าหากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนและครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้และมีระบบการเฝ้าระวัง ดูแลปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุและของผู้พิการ เพื่อลดอันตรายหรือเพื่อลดความพิการที่อาจเกิดขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง จำนวนหมู่บ้านรับผิดชอบ 5 หมู่บ้าน จำนวนประชากร 4,805 คน มีบุคลากรสาธารณสุข 7 คน แกนนำ 1 คน อสม. 54 คน โรงเรียน 3 แห่ง มัสยิส 3 แห่ง มีผู้สูงอายุ 120 คน ผู้พิการ 80 คน
จะเห็นได้ว่าจำนวนบุคลากรสาธารณสุขมีไม่เพียงพอแแก่การให้บริการโดยเฉพาะการให้บริการในชุมชน ซึ่งยังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่ยังเข้าไม่ถึง แต่เนื่องจากมีองค์กรต่างๆ ในชุมชน อีกมากมายที่ได้พัฒนาศักยภาพให้สามารถดูแลผู้สูงอายุหรือผู้พิการในชุมชนได้ น่าจะเป็นอีกทางหนึ่งที่สามารถทำได้และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวผู้ป่วยและผู้พิการ ดังนั้น โครงการนี้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ของครอบครัว ในการดูแลสุขภาพของตนเองโดยมีบุคลากรสาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุใชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพตนเองและความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงในกลุ่มเป้าหมาย อสม. เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวหมอครอบครัวผู้ดูแลผู้พิการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันและเบาหวาน
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกายและสูบบุหรี่
- กลุ่มเป็าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง สามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว จากฐานเดิมได้ร้อยละ 5 และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมชี้แจงในกลุ่มเป้าหมาย อสม. เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.ชี้แจ้งนโยบายและกิจกรรมจัดทำโครงการโครงการเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ ในชุมชน ประจำปี 2561 2.อบรบให้ความรู้ดังนี้ 1.ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในเขต อบต. 2.สำรวจผู้สูงอายุและผู้พิการในเขต อบต.(ผู้ป่วยรายใหม่) 3.ให้คัดเลือกผู้ดูแลสุขภาพ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. สามารถแนะนำให้ความรู้การดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการได้อย่างถูกต้อง และได้คัดเลือกผู้ดูแลสุขภาพ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว เพื่อฝึกเชิงปฏิบัติจริงได้ในชุมชนได้
|
32 | 0 |
2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวหมอครอบครัวผู้ดูแลผู้พิการ |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ
1. รวบรวมตัวอย่างนวัตกรรม ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และ หน่วยงานที่ผลิต เพื่อให้ท้องถิ่นใช้เป็นตัวอย่าง ใน การประดิษฐ์ / ประยุกต์อุปกรณ์ฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง การดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงผู้เข้าร่วมโครงการได้รับทักษะในการทากายภาพบำบัดให้กับผู้พิการ/ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง และผู้พิการ/ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงได้รับการลงเยี่ยมบ้านตามเป้าหมายที่วางไว้
|
204 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุใชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพตนเองและความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้พิการในชุใชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพตนเองและความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงในกลุ่มเป้าหมาย อสม. เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวหมอครอบครัวผู้ดูแลผู้พิการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เยี่ยมบ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3046-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกูรอซีด๊ะ บูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......