โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน ”
ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลแพรกหา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา
กรกฎาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน
ที่อยู่ ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 17/2561 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 17/2561 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 พฤษภาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอของคนมีอัตราเพิ่มขึ้นทั่วโลกโดยส่วนใหญ่พบการมีกิจกรรมทาง กายไม่เพียงพอในกลุ่มวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ ในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และจะเพิ่มขึ้นในประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยประชากรสูง สำหรับประเทศไทยผลสำรวจกิจกรรมทางกายโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่าในปี 2555 ถึง 2558 คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ อยู่ที่ร้อยละ 66.3 เมื่อพิจารณากากรเปลี่ยนแปลงในปี 2557 ถึง 2558 จำแนกตามกลุ่มวัยพบว่า กลุ่มที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอเพิ่มขึ้นสูงสุด ได้แก่ กลุ่มวัยทำงานโดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70.4 เป็นร้อยละ 75.8กลุ่มที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.2 ถึงร้อยละ 0.8 ได้แก่ กลุ่มวัยรุ่น และกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเพิ่มจากร้อยละ 66.4 และร้อยละ 67.7 เป็นร้อยละ 66.6 และร้อยละ 68.5 ตามลำดับ ขณะที่กลุ่มวัยเด็กกลับพบกิจกรรมทางกายเพียงพอลดลงจากร้อยละ 67.6เหลือเพียงร้อยละ64.8
องค์การอนามัยโลก เน้นย้ำว่าวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉง(Active Lifestyle)สำคัญยิ่งต่อสุขภาภาพกาย และใจที่ดี การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งให้น้อยที่สุด มีความสำคัญทั้งในมิติ ของการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค โดยเฉพาะการมีพัฒนาการที่ดีตลอดช่วงชีวิตมนุษย์ การมี กิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเหมาะสม ตั้งแต่วัยเด็กและต่อเนื่องจนถึงเมื่อเข้าสู่วัยชราจะช่วยสร้างความแข็งแรงของหัวใจและหลอดเลือด กล้ามเนื้อ กระดูกทำงานได้ดี เคลื่อนไหว ประสานงานและทรงตัวได้อย่างสมดุลลดความเสี่ยงต่อการหกล้มการแตกหักของกระดูกสะโพกและสันหลัง รวมทั้งสร้างความสมดุลของ ร่างกายในการใช้พลังงาน ช่วยควบคุมน้ำหนัก ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคทั้งเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด และมะเร็งหลายชนิด โดยเฉพาะโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ และช่วยลดอัตรา การเสียชีวิตก่อนวัย
ในพื้นที่ตำบลแพรกหาก็มีแนวโน้มของกิจกรรมทางกายของประชาชนในพื้นที่ลดลง อันเนื่องมาจากกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น การใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อเสพสื่อต่าง ๆ ที่ต้องใช้เวลาและสมาธิอยู่นิ่งเป็นเวลานาน จากการสำรวจของตำบลแพรกหา จากประชากร 10 คน จะมีกิจกรรมทางกายในแต่ละสัปดาห์น้อยกว่า 150นาที ถึง 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80 คนจากเหตุนี้ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลแพรกหา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยานเพิ่มกิจกรรมทางกายให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันแนวใหม่ในชุมชน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะเนือยนิ่งของประชาชนในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ 2.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานให้กับคนในชุมชน 3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ได้ปั่นจักรยานเป็นกิจวัตรประจำวัน 5.เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้การเลือกบริโภคอาหารควบคู่ไปกับกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นผ่านเกณฑ์มาตรฐาน150นาที ต่อสัปดาห์ร้อยเปอร์เซ็นต์
2.มีจำนวนประชาชนในพื้นที่ตำบลแพรกหาที่มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
3.คนในชุมชนมีกิจกรรมร่วมกันสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน
4.คนในชุมชนมีจิตสำนึกในการรักสุขภาพและออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยายเป็นกิจวัตรประจำวัน
5.คนในชุมชนไดรู้จักเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพพร้อมกับการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานเพื่อเผาผลาญแคลอรี่ที่ได้ผลดียิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมได้ดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และบรรลุเป้าหมายซ่ึงได้กำหนดการจัดกิจกรรมไว้ 3 ครั้ง ประชาชนให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดีมีการตอบรับอยากให้มีการจัดกิจกรรมแบบนี้ทุกปี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ 2.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานให้กับคนในชุมชน 3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ได้ปั่นจักรยานเป็นกิจวัตรประจำวัน 5.เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้การเลือกบริโภคอาหารควบคู่ไปกับกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ร้อยละ 100
2.ประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมทางกายด้วยกิจกรรมการปั่นเป็นการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 50 คน
3.ผลการประเมินความพึงพอใจของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลการประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ 2.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานให้กับคนในชุมชน 3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ได้ปั่นจักรยานเป็นกิจวัตรประจำวัน 5.เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้การเลือกบริโภคอาหารควบคู่ไปกับกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 17/2561
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลแพรกหา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน ”
ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลแพรกหา
กรกฎาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 17/2561 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 17/2561 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 พฤษภาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอของคนมีอัตราเพิ่มขึ้นทั่วโลกโดยส่วนใหญ่พบการมีกิจกรรมทาง กายไม่เพียงพอในกลุ่มวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ ในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และจะเพิ่มขึ้นในประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยประชากรสูง สำหรับประเทศไทยผลสำรวจกิจกรรมทางกายโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่าในปี 2555 ถึง 2558 คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ อยู่ที่ร้อยละ 66.3 เมื่อพิจารณากากรเปลี่ยนแปลงในปี 2557 ถึง 2558 จำแนกตามกลุ่มวัยพบว่า กลุ่มที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอเพิ่มขึ้นสูงสุด ได้แก่ กลุ่มวัยทำงานโดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70.4 เป็นร้อยละ 75.8กลุ่มที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.2 ถึงร้อยละ 0.8 ได้แก่ กลุ่มวัยรุ่น และกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเพิ่มจากร้อยละ 66.4 และร้อยละ 67.7 เป็นร้อยละ 66.6 และร้อยละ 68.5 ตามลำดับ ขณะที่กลุ่มวัยเด็กกลับพบกิจกรรมทางกายเพียงพอลดลงจากร้อยละ 67.6เหลือเพียงร้อยละ64.8 องค์การอนามัยโลก เน้นย้ำว่าวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉง(Active Lifestyle)สำคัญยิ่งต่อสุขภาภาพกาย และใจที่ดี การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งให้น้อยที่สุด มีความสำคัญทั้งในมิติ ของการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค โดยเฉพาะการมีพัฒนาการที่ดีตลอดช่วงชีวิตมนุษย์ การมี กิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเหมาะสม ตั้งแต่วัยเด็กและต่อเนื่องจนถึงเมื่อเข้าสู่วัยชราจะช่วยสร้างความแข็งแรงของหัวใจและหลอดเลือด กล้ามเนื้อ กระดูกทำงานได้ดี เคลื่อนไหว ประสานงานและทรงตัวได้อย่างสมดุลลดความเสี่ยงต่อการหกล้มการแตกหักของกระดูกสะโพกและสันหลัง รวมทั้งสร้างความสมดุลของ ร่างกายในการใช้พลังงาน ช่วยควบคุมน้ำหนัก ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคทั้งเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด และมะเร็งหลายชนิด โดยเฉพาะโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ และช่วยลดอัตรา การเสียชีวิตก่อนวัย ในพื้นที่ตำบลแพรกหาก็มีแนวโน้มของกิจกรรมทางกายของประชาชนในพื้นที่ลดลง อันเนื่องมาจากกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น การใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อเสพสื่อต่าง ๆ ที่ต้องใช้เวลาและสมาธิอยู่นิ่งเป็นเวลานาน จากการสำรวจของตำบลแพรกหา จากประชากร 10 คน จะมีกิจกรรมทางกายในแต่ละสัปดาห์น้อยกว่า 150นาที ถึง 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80 คนจากเหตุนี้ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลแพรกหา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยานเพิ่มกิจกรรมทางกายให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันแนวใหม่ในชุมชน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะเนือยนิ่งของประชาชนในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ 2.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานให้กับคนในชุมชน 3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ได้ปั่นจักรยานเป็นกิจวัตรประจำวัน 5.เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้การเลือกบริโภคอาหารควบคู่ไปกับกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นผ่านเกณฑ์มาตรฐาน150นาที ต่อสัปดาห์ร้อยเปอร์เซ็นต์ 2.มีจำนวนประชาชนในพื้นที่ตำบลแพรกหาที่มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 3.คนในชุมชนมีกิจกรรมร่วมกันสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน 4.คนในชุมชนมีจิตสำนึกในการรักสุขภาพและออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยายเป็นกิจวัตรประจำวัน 5.คนในชุมชนไดรู้จักเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพพร้อมกับการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานเพื่อเผาผลาญแคลอรี่ที่ได้ผลดียิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมได้ดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และบรรลุเป้าหมายซ่ึงได้กำหนดการจัดกิจกรรมไว้ 3 ครั้ง ประชาชนให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดีมีการตอบรับอยากให้มีการจัดกิจกรรมแบบนี้ทุกปี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ 2.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานให้กับคนในชุมชน 3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ได้ปั่นจักรยานเป็นกิจวัตรประจำวัน 5.เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้การเลือกบริโภคอาหารควบคู่ไปกับกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ร้อยละ 100 2.ประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมทางกายด้วยกิจกรรมการปั่นเป็นการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 50 คน 3.ผลการประเมินความพึงพอใจของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลการประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 150 นาทีต่อสัปดาห์ 2.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานให้กับคนในชุมชน 3.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีของคนในชุมชน 4.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ได้ปั่นจักรยานเป็นกิจวัตรประจำวัน 5.เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้การเลือกบริโภคอาหารควบคู่ไปกับกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยาน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 17/2561
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลแพรกหา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......