กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการอบรมเครือข่่ายส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยบ้าน ติดเตียง ติดสังคม ปี 2561 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอริญชัย หลงเก

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเครือข่่ายส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยบ้าน ติดเตียง ติดสังคม ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5313-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเครือข่่ายส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยบ้าน ติดเตียง ติดสังคม ปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเครือข่่ายส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยบ้าน ติดเตียง ติดสังคม ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเครือข่่ายส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยบ้าน ติดเตียง ติดสังคม ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงปลายทศวรรษที่ผ่านมา ปัญหาสุขภาพของประเทศไทยเปลี่ยนจากโรคติดต่อ มาเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อันเป็นผลสืบเนื่องจาก การพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งสังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาสุขภาพใหม่ที่ประสบอยู่ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งมักจะตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง มีอาการอัมพฤกษ์ อัมพาต ทำให้มีความพิการตามมา ขณะเดียวกัน ผู้สูงอายุที่ไม่มีโรคเมื่ออายุมากขึ้น มีการถดถอยของการทำงานของร่างกายและสมอง เกิดภาวะพึ่งพิงในการใช้ชีวิตประจำวัน จำนวนผู้ที่มีภาวะพึ่งพาทางกายมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันนอกเหนือจากปัญหาผู้สูงอายุดังกล่าวแล้ว ยังมีผู้ป่วยอื่นที่เป็นผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ ได้แก่ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้พิการ ผู้ที่มีภาวะทุพลภาพ อันเนื่องมาจากการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ผู้ป่วยจิตเวช และภาวะสมองบกพร่อง ผู้มีภาวะพึ่งพิงเป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และมีความยากลำบากในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข ขณะ เดียวกัน ก็มีปัญหาในการดำรงชีวิตเป็นอย่างมาก ทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบบริการในการดูแลสุขภาพต่อเนื่องในระยะยาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทร มีผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม จำนวน ๓๗ คน การดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวระยะยาวนั้นจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากครอบครัวหรือญาติในการดูแลและให้ บริการ รวมถึงการปรับสภาพแวดล้อม และที่อยู่อาศัยให้เอื้อต่อการดูแลด้วย เช่น ที่นอน พื้นบ้าน สถานที่ขับถ่าย ฯลฯ เพื่อให้การดูแลมีประสิทธิผล ทีมสุขภาพจึงจำเป็นต้องออกไปประเมินและให้คำแนะนำในการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดูแล และต้องมีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการดูแลด้านสังคมอีกด้วย จากความสำคัญดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทร จึงได้จัดทำโครงการอบรมเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม ผู้พิการและผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซึ่งจะส่งผลต่อการเข้าถึงบริการของประชาชนตามอย่างมีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้และแนวทางในการช่วยเหลือทางสุขภาพเบื้องต้นแก่เครือข่าย
  2. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานเยี่ยมบ้านแก่เครือข่าย สร้างคุณค่าในชีวิต
  3. เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม
  2. อบรม/เยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 35
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เครือข่ายมีความรู้และให้ความช่วยเหลือทางสุขภาพแก่ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม และผู้พิการได้ 2.เครือข่ายผู้ดูแลผู้พิการในชุมชนมีกิจกรรมการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม และผู้พิการ 3.ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม และผู้พิการในชุมชนได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรม

วันที่ 10 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้และแนวทางในการช่วยเหลือทางสุขภาะเบื้องต้นแก่เครือข่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครือข่ายมีความรู้ ร้อยละ 80 หลังการอบรม

 

150 0

2. อบรม/เยี่ยมบ้าน

วันที่ 10 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมความพร้อมเยี่ยมบ้าน/ลงพื้นที่/ตรวจคัดกรองสุขภาพผู้ป่วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยร้อยละ 100 ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นที่บ้าน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้และแนวทางในการช่วยเหลือทางสุขภาพเบื้องต้นแก่เครือข่าย
ตัวชี้วัด : เครือข่ายมีความรู้ ร้อยละ ๘๐ หลังการอบรม
80.00

 

2 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานเยี่ยมบ้านแก่เครือข่าย สร้างคุณค่าในชีวิต
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการเยี่ยมจากเครือข่ายอย่างน้อย ๒ ครั้ง/ปี
100.00

 

3 เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นที่บ้าน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 35
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้และแนวทางในการช่วยเหลือทางสุขภาพเบื้องต้นแก่เครือข่าย (2) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานเยี่ยมบ้านแก่เครือข่าย สร้างคุณค่าในชีวิต (3) เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม (2) อบรม/เยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเครือข่่ายส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยบ้าน ติดเตียง ติดสังคม ปี 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5313-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอริญชัย หลงเก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด