กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการนำร่องดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์ผสมผสาน ปี 2560 ”

ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลชะมวง

ชื่อโครงการ โครงการนำร่องดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์ผสมผสาน ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-50105-02-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนำร่องดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์ผสมผสาน ปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนำร่องดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์ผสมผสาน ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนำร่องดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์ผสมผสาน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-02-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลประชากรของประเทศไทยปี 2556 ประชากรไทยมีจำนวน 64.6 ล้านคน เป็นผู้สูงอายุมากถึง 9.6 ล้านคน คาดว่าในปี 2573 จะมีจำนวนผู้สูงอายุ 17.6 ล้านคน (ร้อยละ 26.3) และ ปี 2583 จะมีจำนวนถึง 20.5 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ซึ่งหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้ร่วมกันดำเนินงานเพื่อคุ้มครอง ส่งเสริม และสนับสนุนสถานภาพ บทบาท และกิจกรรมของผู้สูงอายุจากการประเมินสภาวะสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีอายุยืนยาวขึ้น แต่ก็ต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้นด้วย จากการศึกษาภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย พบว่า ผู้สูงอายุมีปัญหาปวดข้อเข่า ในสัดส่วนที่ค่อนข้างสูง คือ ร้อยละ 43.95 ส่วนใหญ่อาการปวดข้อเข่ามีสาเหตุมาจาก ข้อเข่าเสื่อม ปัญหาปวดข้อเข่าทำให้ผู้สูงอายุ เกิดความ ยากลำบากในการเคลื่อนไหว ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุลดลงเป็นอุปสรรคในการ เข้าสังคม ทำ ให้สูญเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก และส่งผล ต่อร่างกายจากการใช้ยาแก้ปวดหรือวิธีการจัดการอาการ ปวดที่ไม่เหมาะสม ความเจ็บปวดส่งผลให้ผู้สูงอายุ ต้องหาวิธีการที่จะจัดการกับอาการโดยการซื้อยากินเอง ถึงร้อยละ 3.9 ซึ่งอาจเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้ เช่น ระคายเคืองเยื่อบุกระเพาะอาหาร อาจมีอาการปวด ท้องและเลือดออกได้ อาการปวดข้อเข่าสามารถที่จะ บรรเทาได้โดยไม่ต้องใช้ยาแก้ปวด เช่น การบริหารแบบ ไทยท่าฤๅษีดัดตนที่จะช่วยชะลอความเสื่อมของผู้สูงอายุ การออกกำลังกายหรือการบริหารกล้ามเนื้อรอบเข่า มีผล ในการเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ เพิ่มความสามารถในการเดิน และลดความเจ็บปวด ลงได้ผู้สูงอายุเมื่อมีอาการปวด จะไม่ขยับข้อข้างที่ปวด ส่งผลให้ไม่ออกกำลังกายหรือ บริหารกล้ามเนื้อรอบข้ออาการปวดหรือความ รุนแรงของโรคก็จะมีผลต่อความสามารถของผู้สูงอายุ ด้วย ดังนั้นชมรมผู้สูงอายุตำบลชะมวงจึงเห็นความสำคัญของการใช้ศาสตร์แพทย์ทางเลือกผสมผสานกับการบริหารข้อเข่าบรรเทาอาการปวดโดยไม่ต้องใช้ยาแก้ปวด การบริหารที่ถูกต้องมีผลในการเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ เพิ่มความสามารถในการเดินลดจำนวนผู้สูงอายุติดบ้านลงได้ด้วยทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากตัวผู้สูงอายุเอง และจิตอาสาที่จะมาให้บริการแก่ผู้มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมเป็นการนำร่องหากได้รับความร่วมมือด้วยดีผู้สูงอายุพึงพอใจจะได้นำไปเสนอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเพื่อขยายผลไปในกลุ่มอื่นๆในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมรวมไปถึงการรักษาหรือการดูแลตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง
  2. เพื่อป้องกันหรือชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อม
  3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยในการบำบัดรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
  4. ให้ผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 33
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อชะลอข้อเข่าเสื่อม
    2. ผู้สูงอายุได้รับบริการบำบัดรักษาด้วยแพทย์ทางเลือก
    3. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจบรรเทาความเจ็บปวดจากภาวะปวดเข่าสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุข
    4. เกิดความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. พอกเข่าด้วยสมุนไพร บริหารร่างกายด้วยฤๅษีดัดตน จำนวน 3 ครั้ง

    วันที่ 17 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายได้รับการพอกเข่าจำนวน  3  ครั้ง  ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ  จึงได้ลงขันกันทำกิจกรรมต่อเนื่อง  โดยรวบรวมเงินกันซื้อสมุนไพร และพอกเข่ากันเองอย่างต่อเนื่อง

     

    30 33

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมพอกข้อเข่าครบ  3  ครั้ง  จำนวน  33  คน  ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในกิจกรรมที่ดำเนินการ  จึงได้ลงขันทำกิจกรรมต่อเนื่อง  โดยรวบรวมเงินกันซื้อสมุนไพร  และพอกเข่ากันเองอย่างต่อเนื่อง รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ 1.  ค่าวัสดุ สมุนไพร                                            เป็นเงิน    9,240  บาท 2.  ค่าป้ายไวนิล                                                เป็นเงิน      900  บาท 3.  ค่าอาหารว่างเครื่องดื่ม                                    เป็นเงิน    2,250  บาท                                                                   รวมเป็นเงิน  12,390  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมรวมไปถึงการรักษาหรือการดูแลตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุจำนวน 30 คน ได้รับบำบัดด้วยการแพทย์ผสมผสาน

     

    2 เพื่อป้องกันหรือชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยในการบำบัดรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
    ตัวชี้วัด :

     

    4 ให้ผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 33
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 33
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมรวมไปถึงการรักษาหรือการดูแลตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง (2) เพื่อป้องกันหรือชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อม (3) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยในการบำบัดรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม (4) ให้ผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการนำร่องดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์ผสมผสาน ปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-50105-02-21

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานชมรมผู้สูงอายุตำบลชะมวง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด