กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของหญิงตั้งครรภ์27 ธันวาคม 2562
27
ธันวาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของหญิงตั้งครรภ์
      - อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และญาติ       - แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ๑. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์ ≤ ๑๒ สัปดาห์ มากกว่าร้อยละ ๖๐ ๒. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ ๖๐

ผลลัพธ์ ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์ ≤ ๑๒ สัปดาห์ ลดภาวะเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ ๒. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแล และคัดกรองความเสี่ยง ๕ ครั้งตามเกณฑ์อย่างมีคุณภาพ ภายใต้การใช้ “สมุดกิจกรรมพี่เลี้ยง ANC”

กระบวนการค้นหาติดตาม และเยี่ยมหลังคลอด โดยใช้ “สมุดกิจกรรม พี่เลี้ยง ANC”19 กรกฎาคม 2562
19
กรกฎาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรม กระบวนการค้นหา ติดตาม และเยี่ยมหลังคลอด โดยใช้ “สมุดกิจกรรม พี่เลี้ยง ANC”       - ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในเขตที่รับผิดชอบ       - ติดตามให้ได้รับการฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์       - ติดตามเยี่ยมหลังคลอด ๓ ครั้งตามเกณฑ์
โดยมี “สมุดกิจกรรมพี่เลี้ยง ANC” เป็นเครื่องมือในการติดตาม       - ให้คำปรึกษาเบื้องต้นแก่หญิงตั้งครรภ์/หญิงวัยเจริญพันธุ์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ๑. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์ ≤ ๑๒ สัปดาห์ มากกว่าร้อยละ ๖๐ ๒. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ ๖๐ ๓. ระบบงานอนามัยแม่และเด็กของ รพ.สต.ได้มาตรฐานงานคุณภาพตามกระทรวงกำหนด
4. เกิดนวัตกรรมในการติดตามโดยใช้ “สมุดกิจกรรมพี่เลี้ยง ANC” ผลลัพธ์ ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์ ≤ ๑๒ สัปดาห์ ลดภาวะเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ ๒. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแล และคัดกรองความเสี่ยง ๕ ครั้งตามเกณฑ์อย่างมีคุณภาพ ภายใต้การใช้ “สมุดกิจกรรมพี่เลี้ยง ANC” ๓. ระบบงานอนามัยแม่และเด็กของ รพ.สต. ได้มาตรฐานงานคุณภาพตามกระทรวงกำหนด ทำให้เกิด ความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและระบบงานมีประสิทธิภาพในการดูแลแม่และเด็กได้อย่างปลอดภัย
4. พี่เลี้ยง ANC สามารถนำความรู้ คำแนะนำในการดูแลตนเองเบื้องต้นแก่แม่และเด็กได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม ถอดบทเรียน14 มีนาคม 2562
14
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรม ถอดบทเรียน
      - พี่เลี้ยงANC แต่ละคน แชร์ประสบการณ์จากกรณีศึกษาที่ได้ปฏิบัติอย่างละเอียด เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
      - สรุปปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินการ       - ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนารูปแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับแต่ละชุมชน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ๑. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์ ≤ ๑๒ สัปดาห์ มากกว่าร้อยละ ๖๐ ๒. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ ๖๐ ๓. ระบบงานอนามัยแม่และเด็กของ รพ.สต.ได้มาตรฐานงานคุณภาพตามกระทรวงกำหนด
๔. เกิดแกนนำ พี่เลี้ยง ANC ๕. เกิดนวัตกรรมในการติดตามโดยใช้ “สมุดกิจกรรมพี่เลี้ยง ANC” ผลลัพธ์ ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์ ≤ ๑๒ สัปดาห์ ลดภาวะเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ ๒. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแล และคัดกรองความเสี่ยง ๕ ครั้งตามเกณฑ์อย่างมีคุณภาพ ภายใต้การใช้ “สมุดกิจกรรมพี่เลี้ยง ANC” ๓. ระบบงานอนามัยแม่และเด็กของ รพ.สต. ได้มาตรฐานงานคุณภาพตามกระทรวงกำหนด ทำให้เกิด ความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและระบบงานมีประสิทธิภาพในการดูแลแม่และเด็กได้อย่างปลอดภัย
4. พี่เลี้ยง ANC สามารถนำความรู้ คำแนะนำในการดูแลตนเองเบื้องต้นแก่แม่และเด็กได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ “พี่เลี้ยง ANC”28 สิงหาคม 2561
28
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดกิจกรรมให้ความรู้ 1.1 พัฒนาศักยภาพ “พี่เลี้ยง ANC”       - อบรมให้ความรู้

- ระดมสมอง สู่กระบวนการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่/หญิงวัยเจริญพันธุ์ และอภิปรายกลุ่ม - อบรมติดตามกระบวนการระดมสมอง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. เกิดแกนนำ พี่เลี้ยง ANC 2. เกิดนวัตกรรมในการติดตามโดยใช้ “สมุดกิจกรรมพี่เลี้ยง ANC” ผลลัพธ์ 1. พี่เลี้ยง ANC สามารถนำความรู้ คำแนะนำในการดูแลตนเองเบื้องต้นแก่แม่และเด็กได้อย่างถูกต้อง