กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวต่วนบีรนี ดาราหมานเศษ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5300-5-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5300-5-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทยที่พบว่ามีการเกิดโรคขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหน้าฝน และพบโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (โรคชิคุนกุนยา) เป็นบางปีกระจายไปหลายพื้นที่ที่ใกล้เคียงกันซึ่งมีแนวโน้มการเกิดโรคกับประชาชนทุกกลุ่มอายุหากมีการตรวจวินิจฉัยขั้นต้นไม่ถูกต้อง อาจนำไปสู่ภาวะเสี่ยงในผู้ป่วยบางรายถึงขั้นเสียชีวิต โดยเฉพาะในรายที่เป็นโรคไข้เลือดออก ที่มีการรั่วซึมของพลาสมา ในขณะป่วยที่เข้าสู่ระยะช็อก ถึงแม้ว่า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (โรคชิคุนกุนยา) จะไม่รุนแรงถึงขั้นผู้ป่วยมีอาการช็อกจนเสียชีวิตเฉกเช่นเดียวกับไข้เลือดออก แต่อาการของโรค ซึ่งนั่น คือ อาการปวดข้อที่เป็นอาการร่วมของโรคจะส่งผลอย่างมากในผู้ป่วยบางรายเช่นกัน ดังนั้นโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายจึงนับได้ว่าเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ อีกทั้งเป็นการสร้างความตระหนักในการดูแลตนเองของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยตัวเอง สืบเนื่องจากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2556 –ปี ๒๕60) พบว่าจังหวัดสตูลพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่วินิจฉัยว่าเป็นไข้เลือดออกที่แน่ชัดและมีผล Tournique test จำนวน 149, 83, 129, 428, 274 ราย ตามลำดับ ซึ่งเป็นผู้ป่วยในเขตพื้นที่อำเภอเมืองสตูล จำนวน 122, 74, 106, 361,235 ราย ตามลำดับ ในส่วนของตำบลคลองขุด พบว่า สถานการณ์โรคไข้เลือดออก5 ปีย้อนหลัง (ปี 2556 –ปี ๒๕60) ที่ผ่านมา ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูลพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่มีผลยืนยันและมีผล Tournique test จำนวน 17, 27, 14, 58, 13 ราย ตามลำดับและเป็นผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา) ได้แก่หมู่ที่ 3, 4 และ 7 จำนวน 11, 8, 8, 22, 4 คิดเป็นอัตราป่วย 114.62, 83.40, 83.40, 229.24, 41.68 ต่อแสนประชากรตามลำดับ เกิน 50 ต่อแสนประชากร (เกินเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงกำหนด)และปัจจุบันในปี 2561 (ข้อมูลตั้งแต่ 1 ม.ค. 61- 22 พ.ค. 61) พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งสิ้น จำนวน 26 ราย เป็นผู้ป่วยสงสัย จำนวน 18 ราย และเป็นผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 8 ราย อีกทั้งยังพบข้อมูล ผู้ป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลายที่ได้รับแจ้งจาก รพ.สตูลที่มีผลยืนยันจำนวน 2 ราย และผู้ป่วยที่สงสัยจากการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมในชุมชน จำนวน 10 ราย ที่ไปรับการรักษาจากสถานพยาบาลหรือคลินิกอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งจากการสืบค้นข้อมูล 5 ปีย้อนหลังในระบบรายงาน 506 ไม่พบการรายงานผู้ป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลายระบาดในพื้นที่แต่ทั้งนี้ยังคงมีการเฝ้าระวังต่อเนื่องไปจนกระทั่งสามารถควบคุมการระบาดได้และสามารถคาดการณ์ได้ว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย อาจจะมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น หากชุมชนไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินกิจกรรมการป้องกัน และควบคุมโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา) จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา จึงได้มีการจัดโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี ๒๕๖๑ ขึ้นโดยต้องอาศัยความร่วมมือและการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายแกนนำอาสาพัฒนาสาธารณสุขแกนนำชุมชนโรงเรียน หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เป็นต้น เพื่อให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง และร่วมรณรงค์ป้องกัน ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายที่เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยที่เกิดขึ้น และร่วมกันดูแลชุมชนให้สะอาด ห่างไกลจากโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย เพื่อความปลอดภัยของบุตรหลานและประชาชนในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  2. ๒. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนและชุมชน จัดกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. ๓. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มที่อัตราการเจ็บป่วยสูงสุด สามารถดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวที่เจ็บป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และควบคุมการระบาดของโรคในโรงเรียนและชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายในเขตพื้นที่ลดลง ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร (ตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข)
2. นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรค ไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายและร่วมดำเนินกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกวัน ศุกร์ 3. โรงเรียนและชุมชนมีการเฝ้าระวังและรณรงค์โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายอย่างต่อเนื่อง และมีการดำเนินมาตรการในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ การป้องกัน และควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ 1. ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายในเขตพื้นที่ลดจำนวนลงและสามารถควบคุมการ ระบาดของโรคในพื้นที่ได้ 2. โรงเรียน วัด มัสยิด และประชาชนในชุมชนร่วมดำเนินกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
3. โรงเรียนและชุมชนมีการเฝ้าระวังและรณรงค์โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายนักเรียนและประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน และปฏิบัติตัวได้อย่างเหมาะสมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และควบคุมการระบาดของโรคในโรงเรียนและชุมชน

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และควบคุมการระบาดของโรคในโรงเรียนและชุมชนโดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา), แกนนำครูและนักเรียนและทีมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายในเขตพื้นที่ลดลง ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร (ตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข)
2. นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรค ไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายและร่วมดำเนินกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกวัน ศุกร์ 3. โรงเรียนและชุมชนมีการเฝ้าระวังและรณรงค์โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายอย่างต่อเนื่อง และมีการดำเนินมาตรการในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ การป้องกัน และควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ 1. ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายในเขตพื้นที่ลดจำนวนลงและสามารถควบคุมการ ระบาดของโรคในพื้นที่ได้ 2. โรงเรียน วัด มัสยิด และประชาชนในชุมชนร่วมดำเนินกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
3. โรงเรียนและชุมชนมีการเฝ้าระวังและรณรงค์โรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายนักเรียนและประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน และปฏิบัติตัวได้อย่างเหมาะสมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

 

1,000 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : xx
26.00 50.00 1.00

a

2 ๒. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนและชุมชน จัดกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : xx
10.00

 

3 ๓. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มที่อัตราการเจ็บป่วยสูงสุด สามารถดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวที่เจ็บป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : xx
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) ๒. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนและชุมชน จัดกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (3) ๓. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มที่อัตราการเจ็บป่วยสูงสุด สามารถดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวที่เจ็บป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และควบคุมการระบาดของโรคในโรงเรียนและชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5300-5-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวต่วนบีรนี ดาราหมานเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด