โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา ”
ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุรีรัตน์รัตนเหม ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางศาลา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา
ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5159-2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5159-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,343.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาชาติที่สำคัญคือ การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ตลอดจนมีความสามารถในการเรียนรู้ เพื่อให้มีศักยภาพสูงสุดอันเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน อันดับแรกของการพัฒนาคน คือการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัย เพราะเป็นพื้นฐานของการพัฒนาด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ตลอดจนคุณธรรมและจริยธรรมของเด็ก อาหารนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะช่วงเด็กวัยเรียน อาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัยเรียน ได้แก่ อาหาร 3 มื้อ ที่มีสารอาหารครบถ้วนทั้ง 5 ได้แก่ 1.คาร์โบไฮเดรต 2.โปรตีน 3.ไขมัน 4.วิตามิน และ 5.เกลือแร่ ร่วมกับมีนมเป็นอาหารเสริมขนาดแก้วละ 240-250 ซีซี วันละ 2-3 แก้วมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นแหล่งของสารอาหารและพลังงานหลักสำหรับการทำกิจกรรมระหว่างวันของเด็ก เด็กอายุระหว่าง 6-10 ปี จะมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นประมาณปีละ 3-3.5 กิโลกรัมมวนสูงเพิ่มขึ้นประมาณปีละ 6-7 ซม.ต่อปี ส่วนเด็กหลังอายุ 10 ปีไปแล้ว ควรมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับส่วนสูง โดยคำนวณจาก ดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว (หน่วยเป็นกก.)/ส่วนสูง (ยกกำลังสอง)(หน่วยเป็นเมตร) อยู่ระหว่าง 18.5-23.0 กก./ม. (ยกกำลังสอง)
การจัดและควบคุมให้เด็กรับประทานอาหารอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกายทั้งปริมาณ และคุณค่าทางโภชนาการ เพื่อควบคุมให้เด็กมีน้ำหนักตัวอย่างเหมาะสม จะส่งผลดีต่อพัฒนาการทางร่างกาย ตลอดจนถึงสมองและการเรียนรู้ของเด็ก เป็นการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในวัยเด็กและเมื่อเติบโตขึ้นได้ ที่สำคัญ เด็กในวัยเรียนควรเน้นให้เด็กได้รับประทานอาหารอย่างเพียงพอ ทั้งปริมาณและสารอาหารเพื่อเป็นแหล่งของสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ ต่อการปฏิบัติภารกิจประจำวันของเด็กในวัยนี้ ครูและโรงเรียนต้องเป็นแบบอย่างที่ดี
ในปีการศึกษา ๒๕๖๑จากการวิเคราะห์ข้อมูลโรงเรียนวัดบางศาลามีนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น ๑๓๐ คน พบว่ามีปัญหา ทุพโภชนาการ โดยเป็น เด็กผอม ๓๑ คน เด็กเตี้ย จำนวน ๗ คน รวมนักเรียนทีมีภาวะโภชนาการต่ำ จำนวน ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒๓และยังมีนักเรียนอีกส่วนเป็น เด็กอ้วน จำนวน ๒๙ คน คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๒.๓๑ ที่เหลือนักเรียนสมส่วนจำนวน ๔๘.๔๖ คนเมื่อสอบถามสภาพการรับประทานอาหารของนักเรียน พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ผู้ปกครองประกอบอาชีพรับจ้าง การใช้ชีวิตที่เร่งรีบของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน ทำให้อาหารเช้ากลับกลายเป็นอาหารมื้อที่ถูกละเลยมากที่สุด เนื่องจากผู้ปกครองส่วนใหญ่รีบไปทำงาน มื้อเช้าของเด็กๆคือขนม จากร้านในหมู่บ้าน จำพวกขนมกรุบกรอบ ข้าวเหนียวไก่ทอด ข้าวเหนียวหมูลูกชิ้น ไส้กรอกซึ่งไม่มีประโยชน์ และไม่เหมาะสำหรับเด็กวัยกำลังเจริญเติบโต ทำให้มีเด็กมีปัญหาเรื่องภาวะโภชนาการที่ไม่สมวัย เด็กขาดธาตุเหล็ก เนื่องจากไมได้ทานข้าวซึ่งทำให้เด็กขาดอาหารสำคัญมื้อแรก ส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านต่าง ๆ ของเด็กนักเรียน จากปัญหาดังกล่าวโรงเรียนวัดบางศาลาเห็นความสำคัญในเรื่องของสุขภาพอนามัย ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเด็กทุกคน ให้สามารถมีคุณภาพที่ดี การสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองดูแลนักเรียนให้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์สร้างตัวอย่างที่ดีในการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย ถือเป็นสิ่งที่สำคัญที่จะเสริมสร้างความยั่งยืนในการเสริมสร้างสุขนิสัยการกินอย่างเหมาะสม
โรงเรียนวัดบางศาลา จึงจัดทำโครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลาเพื่อแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก ให้เด็กนักเรียนได้รับประทานอาหารปลอดภัย สร้างสุขนิสัยการรับประทานอาหารทีถูกต้อง มีสารอาหารครบทุกหมู่เพื่อสุขภาพและร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีสมาธิเกิดความพร้อมในการเรียนรู้ สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง2.นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีภาวะโภชนาการสมวัย 3.ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก สามารถจัดเมนูอาหารให้บุตรหลานของตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
- ประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง พัฒนาการของเด็ก
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร
- จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดอาหารเช้าเมนูสุขภาพ
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน
- จัดทำแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง
- จัดเวทีประชุมคืนข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ให้กับผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการ สามารถจัดการอาหารให้นักเรียนรับประทานได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 100
- นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามี น้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐานร้อยละ 90
- นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 90
4.นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลาได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้องร้อยละ 90
๕. นักเรียน ครู ผู้ปกครอง สามารถปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงาน
วันที่ 29 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีแรวทางในการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการของเด็กนักเรียน
28
0
2. ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
วันที่ 29 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุสำหรับติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีเครื่องชั่งนำ้หนักและวัดส่วนสูงในการดำเนินการ
67
0
3. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร
วันที่ 10 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร
85
0
4. จัดทำแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง
วันที่ 18 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดทำแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนมีแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง และเป็นแหล่งผลิตอาหารเช้า อาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
150
0
5. ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
วันที่ 10 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้น
130
0
6. ประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง พัฒนาการของเด็ก
วันที่ 25 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดประเมินส่วนสูง น้ำหนักของเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีข้อมูลสำหรับแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียน
130
0
7. จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดอาหารเช้าเมนูสุขภาพ
วันที่ 25 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดอาหารเช้าเมนูสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้ีับอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
38
0
8. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน
วันที่ 25 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการจัดอาหารสำหรับเด็กนักเรียนมากยิ่งขึ้น
38
0
9. จัดเวทีประชุมคืนข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ให้กับผู้ปกครอง
วันที่ 25 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดเวทีประชุมคืนข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ให้กับผู้ปกครอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองได้รับทราบข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา
85
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง2.นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีภาวะโภชนาการสมวัย 3.ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก สามารถจัดเมนูอาหารให้บุตรหลานของตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลาได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้องร้อยละ 90 / นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ภาวะโภชนาการสมวัย ร้อยละ ๙๐เด็กอ้วนลดลง ร้อยละ ๖๐ / ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก สามารถจัดเมนูอาหารให้บุตรหลานของตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ ๑๐๐
15.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง2.นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีภาวะโภชนาการสมวัย 3.ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก สามารถจัดเมนูอาหารให้บุตรหลานของตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ (3) ประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง พัฒนาการของเด็ก (4) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร (5) จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดอาหารเช้าเมนูสุขภาพ (6) ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (7) ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน (8) จัดทำแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง (9) จัดเวทีประชุมคืนข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ให้กับผู้ปกครอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5159-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวจุรีรัตน์รัตนเหม ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางศาลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา ”
ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุรีรัตน์รัตนเหม ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางศาลา
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5159-2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5159-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,343.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาชาติที่สำคัญคือ การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ตลอดจนมีความสามารถในการเรียนรู้ เพื่อให้มีศักยภาพสูงสุดอันเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน อันดับแรกของการพัฒนาคน คือการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัย เพราะเป็นพื้นฐานของการพัฒนาด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ตลอดจนคุณธรรมและจริยธรรมของเด็ก อาหารนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะช่วงเด็กวัยเรียน อาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัยเรียน ได้แก่ อาหาร 3 มื้อ ที่มีสารอาหารครบถ้วนทั้ง 5 ได้แก่ 1.คาร์โบไฮเดรต 2.โปรตีน 3.ไขมัน 4.วิตามิน และ 5.เกลือแร่ ร่วมกับมีนมเป็นอาหารเสริมขนาดแก้วละ 240-250 ซีซี วันละ 2-3 แก้วมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นแหล่งของสารอาหารและพลังงานหลักสำหรับการทำกิจกรรมระหว่างวันของเด็ก เด็กอายุระหว่าง 6-10 ปี จะมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นประมาณปีละ 3-3.5 กิโลกรัมมวนสูงเพิ่มขึ้นประมาณปีละ 6-7 ซม.ต่อปี ส่วนเด็กหลังอายุ 10 ปีไปแล้ว ควรมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับส่วนสูง โดยคำนวณจาก ดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว (หน่วยเป็นกก.)/ส่วนสูง (ยกกำลังสอง)(หน่วยเป็นเมตร) อยู่ระหว่าง 18.5-23.0 กก./ม. (ยกกำลังสอง)
การจัดและควบคุมให้เด็กรับประทานอาหารอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกายทั้งปริมาณ และคุณค่าทางโภชนาการ เพื่อควบคุมให้เด็กมีน้ำหนักตัวอย่างเหมาะสม จะส่งผลดีต่อพัฒนาการทางร่างกาย ตลอดจนถึงสมองและการเรียนรู้ของเด็ก เป็นการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในวัยเด็กและเมื่อเติบโตขึ้นได้ ที่สำคัญ เด็กในวัยเรียนควรเน้นให้เด็กได้รับประทานอาหารอย่างเพียงพอ ทั้งปริมาณและสารอาหารเพื่อเป็นแหล่งของสารอาหารและพลังงานอย่างเพียงพอ ต่อการปฏิบัติภารกิจประจำวันของเด็กในวัยนี้ ครูและโรงเรียนต้องเป็นแบบอย่างที่ดี
ในปีการศึกษา ๒๕๖๑จากการวิเคราะห์ข้อมูลโรงเรียนวัดบางศาลามีนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น ๑๓๐ คน พบว่ามีปัญหา ทุพโภชนาการ โดยเป็น เด็กผอม ๓๑ คน เด็กเตี้ย จำนวน ๗ คน รวมนักเรียนทีมีภาวะโภชนาการต่ำ จำนวน ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒๓และยังมีนักเรียนอีกส่วนเป็น เด็กอ้วน จำนวน ๒๙ คน คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๒.๓๑ ที่เหลือนักเรียนสมส่วนจำนวน ๔๘.๔๖ คนเมื่อสอบถามสภาพการรับประทานอาหารของนักเรียน พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ผู้ปกครองประกอบอาชีพรับจ้าง การใช้ชีวิตที่เร่งรีบของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน ทำให้อาหารเช้ากลับกลายเป็นอาหารมื้อที่ถูกละเลยมากที่สุด เนื่องจากผู้ปกครองส่วนใหญ่รีบไปทำงาน มื้อเช้าของเด็กๆคือขนม จากร้านในหมู่บ้าน จำพวกขนมกรุบกรอบ ข้าวเหนียวไก่ทอด ข้าวเหนียวหมูลูกชิ้น ไส้กรอกซึ่งไม่มีประโยชน์ และไม่เหมาะสำหรับเด็กวัยกำลังเจริญเติบโต ทำให้มีเด็กมีปัญหาเรื่องภาวะโภชนาการที่ไม่สมวัย เด็กขาดธาตุเหล็ก เนื่องจากไมได้ทานข้าวซึ่งทำให้เด็กขาดอาหารสำคัญมื้อแรก ส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านต่าง ๆ ของเด็กนักเรียน จากปัญหาดังกล่าวโรงเรียนวัดบางศาลาเห็นความสำคัญในเรื่องของสุขภาพอนามัย ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเด็กทุกคน ให้สามารถมีคุณภาพที่ดี การสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองดูแลนักเรียนให้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์สร้างตัวอย่างที่ดีในการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย ถือเป็นสิ่งที่สำคัญที่จะเสริมสร้างความยั่งยืนในการเสริมสร้างสุขนิสัยการกินอย่างเหมาะสม
โรงเรียนวัดบางศาลา จึงจัดทำโครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลาเพื่อแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก ให้เด็กนักเรียนได้รับประทานอาหารปลอดภัย สร้างสุขนิสัยการรับประทานอาหารทีถูกต้อง มีสารอาหารครบทุกหมู่เพื่อสุขภาพและร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีสมาธิเกิดความพร้อมในการเรียนรู้ สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง2.นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีภาวะโภชนาการสมวัย 3.ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก สามารถจัดเมนูอาหารให้บุตรหลานของตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
- ประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง พัฒนาการของเด็ก
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร
- จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดอาหารเช้าเมนูสุขภาพ
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน
- จัดทำแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง
- จัดเวทีประชุมคืนข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ให้กับผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการ สามารถจัดการอาหารให้นักเรียนรับประทานได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 100
- นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามี น้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐานร้อยละ 90
- นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 90
4.นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลาได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้องร้อยละ 90 ๕. นักเรียน ครู ผู้ปกครอง สามารถปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงาน |
||
วันที่ 29 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีแรวทางในการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการของเด็กนักเรียน
|
28 | 0 |
2. ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ |
||
วันที่ 29 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุสำหรับติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีเครื่องชั่งนำ้หนักและวัดส่วนสูงในการดำเนินการ
|
67 | 0 |
3. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร
|
85 | 0 |
4. จัดทำแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง |
||
วันที่ 18 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดทำแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนมีแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง และเป็นแหล่งผลิตอาหารเช้า อาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
|
150 | 0 |
5. ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย |
||
วันที่ 10 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กนักเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้น
|
130 | 0 |
6. ประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง พัฒนาการของเด็ก |
||
วันที่ 25 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดประเมินส่วนสูง น้ำหนักของเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีข้อมูลสำหรับแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียน
|
130 | 0 |
7. จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดอาหารเช้าเมนูสุขภาพ |
||
วันที่ 25 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดบริการส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดอาหารเช้าเมนูสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้ีับอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
|
38 | 0 |
8. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน |
||
วันที่ 25 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการจัดอาหารสำหรับเด็กนักเรียนมากยิ่งขึ้น
|
38 | 0 |
9. จัดเวทีประชุมคืนข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ให้กับผู้ปกครอง |
||
วันที่ 25 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดเวทีประชุมคืนข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ให้กับผู้ปกครอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองได้รับทราบข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา
|
85 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง2.นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีภาวะโภชนาการสมวัย 3.ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก สามารถจัดเมนูอาหารให้บุตรหลานของตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลาได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้องร้อยละ 90 / นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ภาวะโภชนาการสมวัย ร้อยละ ๙๐เด็กอ้วนลดลง ร้อยละ ๖๐ / ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก สามารถจัดเมนูอาหารให้บุตรหลานของตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ ๑๐๐ |
15.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง2.นักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีภาวะโภชนาการสมวัย 3.ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลามีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก สามารถจัดเมนูอาหารให้บุตรหลานของตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ (3) ประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง พัฒนาการของเด็ก (4) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัยและสาธิตเมนูอาหาร (5) จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ โดยจัดอาหารเช้าเมนูสุขภาพ (6) ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (7) ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน (8) จัดทำแปลงสาธิตแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนในรูปแบบสวนผักคนเมือง (9) จัดเวทีประชุมคืนข้อมูลด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดบางศาลา ให้กับผู้ปกครอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและส่งเสริมโภชนาการสมวัยโรงเรียนวัดบางศาลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5159-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวจุรีรัตน์รัตนเหม ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางศาลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......