กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ครอบครัวสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางอานีซะห์ ยาหมาย

ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ครอบครัวสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5313-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ครอบครัวสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ครอบครัวสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ครอบครัวสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัยเพื่อให้เด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการอย่างองค์รวมทั้งสุขภาวะทางกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ซึ่งปัจจัยสำคัญประการหนึ่งเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวคือการได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตัวในด้านสุขภาพที่ดี ได้แก่ ภาวะโภชนาการ การดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ กิจกรรมทางด้านร่างกาย และการออกกำลังกายการละเว้นจากบุหรี่เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือยาอื่นๆในขณะตั้งครรภ์ การยอมรับและจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม ลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์เช่น ภาวะขาดสารอาหารโลหิตจางขาดไอโอดีนและพลังงาน ภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม) ทารกพิการแต่กำเนิดรวมทั้งการคลอดตาย จากการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๖๐ พบว่าหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทั้งหมดจำนวน ๖๐ คน มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ (Early ANC) จำนวน 34 คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๖มาบริการฝากครรภ์ อย่างน้อย ๕ ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ ๕๐ ซึ่งส่วนนี้จะทำให้ จนท.สาธารณสุขดูแลปัจจัยเสี่ยงต่างๆระหว่างการตั้งครรภ์ได้ดียิ่งขึ้น สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความเสี่ยง ได้พบแพทย์ร้อยละ ๑๐๐ ปี ๒๕๖๐ พบหญิงคลอดทั้งหมด ๖๐ คน ทุกคนคลอดในสถานบริการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ แต่มีรายงานพบภาวะซีดใกล้คลอด จำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๖ ซึ่งเสี่ยงต่อภาวะตกเลือดในช่วงคลอด แต่ไม่พบรายงานมารดาตาย และทำให้เสี่ยงต่อการกำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ต่ำกว่า ๒,๕๐๐ กรัม) ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการ สติปัญญา และการเรียนรู้ของเด็กต่ำไปด้วย มีรายงานพบทารกน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม จำนวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๕ แต่ไม่พบทารกคลอดตาย จะเห็นได้ว่ายังพบปัจจัยเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดการเสียชีวิตทั้งแม่และลูกอยู่ ประกอบกับหญิงตั้งครรภ์รายใหม่มีแนวโน้มเพิ่มจำนวนมากขึ้นทุกปี ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลละงู จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ตามมาตรฐานจาก จนท. สาธารณสุข
  2. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อมารดา และทารกในครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งชมรม
  2. อบรมให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่
  3. คู่แต่งงานใหม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 135
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ และเกิดความตระหนักในการเข้ารับการตรวจครรภ์จาก จนท.สาธารณสุข ก่อนอายุครรภ์๑๒ สัปดาห์ และต่อเนื่อง โดยไม่พบภาวะเสี่ยงหรือภาวะลดลง
  2. หญิงตั้งครรภ์ที่ตรวจพบภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อรับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ลดภาวะเสี่ยงของแม่และทารก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมแกนนำและจัดตั่งชมรม

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนงานอนามัยแม่และเด้ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-หญิงตั้งครรภ์ทุกคนมีความตระหนักในการฝากครรภ์และคลอดทีสถานบริการ หญิงที่พบภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อพบแพทย์ได้ทันเวลาและรักษาต่อเนื่องทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอดมีความปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงต่างๆและไม่พบอัตราการดายของแม่และลูก

 

54 0

2. อบรมให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรยายให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่แก่หญิงพร้อมสามีหรือญาติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-หญิงตั้งครรภ์ทุกคนมีความตระหนักในการฝากครรภ์และคลอดทีสถานบริการ หญิงที่พบภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อพบแพทย์ได้ทันเวลาและรักษาต่อเนื่องทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอดมีความปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงต่างๆและไม่พบอัตราการดายของแม่และลูก

 

27 0

3. คู่แต่งงานใหม่

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเรืองอนามัยแ่ม่และเด้กในคู่แต่งงานใหม่ที่ยังไม่มีบุตรหรือวางแผนกำลังจะมีบุตรหรือกลุ่มพ่อแม่มือใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-หญิงตั้งครรภ์ทุกคนมีความตระหนักในการฝากครรภ์และคลอดทีสถานบริการ หญิงที่พบภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อพบแพทย์ได้ทันเวลาและรักษาต่อเนื่องทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอดมีความปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงต่างๆและไม่พบอัตราการดายของแม่และลูก

 

73 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-หญิงตั้งครรภ์ทุกคนมีความตระหนักในการฝากครรภ์และคลอดทีสถานบริการ หญิงที่พบภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อพบแพทย์ได้ทันเวลาและรักษาต่อเนื่องทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอดมีความปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงต่างๆและไม่พบอัตราการดายของแม่และลูก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ตามมาตรฐานจาก จนท. สาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ๑. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทุกคนพร้อมสามีหรือญาติได้รับการอบรมให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่อย่างน้อย 1 ครั้ง ๒. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับบริการฝากครรภ์ ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์(Early ANC) ไม่ต่ำร้อยละ 80 ๓. หญิงตั้งครรภ์ที่พบภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อพบแพทย์อย่างน้อย 1 ครั้ง ร้อยละ 100 ๔. หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ อย่างน้อย ๕ ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ ๕. หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐
80.00

 

2 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อมารดา และทารกในครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์พบภาวะโลหิตจาง (ช่วงไตรมาศที่ 3/ช่วงอายุครรภ์ 32 สัปดาห์) ไม่เกินร้อยละ ๑๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 135
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 135
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ตามมาตรฐานจาก จนท. สาธารณสุข (2) เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อมารดา และทารกในครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งชมรม (2) อบรมให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่ (3) คู่แต่งงานใหม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝากครรภ์คุณภาพ ครอบครัวสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5313-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอานีซะห์ ยาหมาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด