โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรทัย อุสมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-1-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากผลการการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ปี 2561 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 106 คน และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 225 คน นอกจากนี้กลุ่มป่วยที่รับยาที่ รพ.สต. ตั้งแต่ปี 2561จำนวนทั้งสิ้น 215 ราย แบ่งเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง161 คนโรคเบาหวาน11คนโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 43คน นอกจากนี้ จากการตรวจประเมินค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยแต่ละราย พบว่า กลุ่มเสี่ยงบางรายยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะส่งผลกระทบนั่น คือ ทำให้มีแนวโน้มว่าจำนวนผู้ป่วยรายใหม่มีอัตราที่เพิ่มขึ้นได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชน/กลุ่มเสี่ยงกลุ่มสงสัยป่วยได้รับความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
- เพื่อประเมินโดยการติดตามผลและการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
- ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาตรฐานตามเกณฑ์
2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม การเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
3.อัตราการเกิดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
วันที่ 25 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรุ้และมีทัศนคติที่ดีในเรืองการปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส
150
0
2. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
วันที่ 26 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและมีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
78
0
3. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
วันที่ 20 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้กลุุ่มเสี่ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละกลุุ่มเสี่ยงได้รับการดุแลรักษาและได้รับการส่งเสริมต่อตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี
150
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชน/กลุ่มเสี่ยงกลุ่มสงสัยป่วยได้รับความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง
0.00
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
0.00
3
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
0.00
4
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน รายใหม่
0.00
5
เพื่อประเมินโดยการติดตามผลและการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและมีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน/กลุ่มเสี่ยงกลุ่มสงสัยป่วยได้รับความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (5) เพื่อประเมินโดยการติดตามผลและการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน (3) ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-1-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอรทัย อุสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรทัย อุสมา
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-1-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากผลการการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ปี 2561 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 106 คน และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 225 คน นอกจากนี้กลุ่มป่วยที่รับยาที่ รพ.สต. ตั้งแต่ปี 2561จำนวนทั้งสิ้น 215 ราย แบ่งเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง161 คนโรคเบาหวาน11คนโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 43คน นอกจากนี้ จากการตรวจประเมินค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยแต่ละราย พบว่า กลุ่มเสี่ยงบางรายยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะส่งผลกระทบนั่น คือ ทำให้มีแนวโน้มว่าจำนวนผู้ป่วยรายใหม่มีอัตราที่เพิ่มขึ้นได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชน/กลุ่มเสี่ยงกลุ่มสงสัยป่วยได้รับความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
- เพื่อประเมินโดยการติดตามผลและการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
- ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาตรฐานตามเกณฑ์ 2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม การเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง 3.อัตราการเกิดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรุ้และมีทัศนคติที่ดีในเรืองการปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ 2 ส
|
150 | 0 |
2. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม |
||
วันที่ 26 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและมีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
78 | 0 |
3. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้กลุุ่มเสี่ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละกลุุ่มเสี่ยงได้รับการดุแลรักษาและได้รับการส่งเสริมต่อตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี
|
150 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชน/กลุ่มเสี่ยงกลุ่มสงสัยป่วยได้รับความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน รายใหม่ |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อประเมินโดยการติดตามผลและการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและมีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน/กลุ่มเสี่ยงกลุ่มสงสัยป่วยได้รับความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (5) เพื่อประเมินโดยการติดตามผลและการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน (3) ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดัน เบาหวาน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-1-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอรทัย อุสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......