กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง


“ โครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการ ร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง ”

ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิริลดา เสียมไหม

ชื่อโครงการ โครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการ ร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง

ที่อยู่ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1486-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 21 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการ ร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการ ร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการ ร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1486-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 21 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ การมีสุขภาพดีของประชาชนถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตและการพัฒนาประเทศการส่งเสริมให้ทุกคนมีสุขภาพดีไม่เกิดการเจ็บป่วยเป็นสิ่งที่รัฐต้องให้การสนับสนุน ในปัจจุบันพบการปนเปื้อนของอาหารจากสารที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ผู้จำหน่ายบางรายไม่ทราบถึงผลิตภัณฑ์ที่ตนเองจำหน่ายว่ามีสารปนเปื้อนเหล่านี้อยู่หรือบางรายอาจทราบแต่ยังไม่ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคนั้น ต้องปลอดภัยปราศจากเชื้อโรคอาหารเป็นพิษหรือการปนเปื้อนจากเชื้อโรคทางเดินอาหาร รวมถึงสารเคมีอันตราย ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารเป็นกลุ่มที่จำเป็นต้องได้รับความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย มีความตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ดังนั้นเพื่อให้ประชาชน ได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยจึงต้องมีระบบการดูแลควบคุม ตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัย อาหารที่ผลิตทุกขั้นตอน ตลอดจนห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่วัตถุดิบ การผลิต การแปรรูป การจัดจำหน่ายจนถึงผู้บริโภค สำหรับสถานการณ์ของตำบลลิพัง ปัจจุบันมีร้านจำหน่ายอาหารจำนวน ๑๕ ร้าน และร้านขายของชำ จำนวน๒๐ ร้าน เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เพื่อสุขภาพที่ดีของผู้บริโภคในตำบลลิพัง เพื่อให้สอดคล้องกับแผนดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารของกระทรวงสาธารณสุข สำหรับใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ ในการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพผู้ประกอบด้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง ขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ในด้านสุขาภิบาลอาหาร และตระหนักถึงความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารของผู้บริโภค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลและโภชนาการในการปรุงอาหารเพื่อการจำหน่าย และจำหน่ายสินค้า ได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้ปรุงอาหารของโรงเรียน และของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ของตำบลลิพังมีความรู้ ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลและโภชนาการในการปรุงอาหาร และมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการตรวจสอบ และทดสอบสารเคมีตกค้างในสารอาหารเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพของผู้บริโภคในตำบลลิพังให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยได้มาตรฐานไม่มีสารเคมีตกค้าง และ เจือปน ได้สินค้าที่ถูกต้อง
  4. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการตรวจสอบ และทดสอบสารเคมีตกค้างในสารอาหารเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเรื่องความปลอดภัยของอาหารสำหรับผู้บริโภคและ การใช้ชุดทดสอบคุณภาพอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลและ โภชนาการในการปรุงอาหารเพื่อการจำหน่าย และการจำหน่ายสินค้าในร้านขายของชำ 2. ผู้บริโภค ในเขตตำบลลิพัง ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ไม่มีสารเคมีตกค้างและได้ซื้อสินค้าที่ได้มาตรฐาน 3.ผู้ประกอบการด้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำในเขตตำบลลิพัง สามารถตรวจสอบและทดสอบ สารเคมีที่ตกค้างในอาหาร เบื้องต้น และสามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลและโภชนาการในการปรุงอาหารเพื่อการจำหน่าย และจำหน่ายสินค้า ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการร้านขายของชำในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลและโภชนาการ ในการปรุง และการเลือกซื้อสินค้าเพื่อการจำหน่ายได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ ๙๐
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปรุงอาหารของโรงเรียน และของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ของตำบลลิพังมีความรู้ ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลและโภชนาการในการปรุงอาหาร และมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการตรวจสอบ และทดสอบสารเคมีตกค้างในสารอาหารเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๒. ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการตรวจสอบ และทดสอบสารเคมีตกค้างในสารอาหารเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องร้อยละ๙๐
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพของผู้บริโภคในตำบลลิพังให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยได้มาตรฐานไม่มีสารเคมีตกค้าง และ เจือปน ได้สินค้าที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการตรวจสอบ และทดสอบสารเคมีตกค้างในสารอาหารเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลและโภชนาการในการปรุงอาหารเพื่อการจำหน่าย และจำหน่ายสินค้า ได้อย่างถูกต้อง  (2) เพื่อให้ผู้ปรุงอาหารของโรงเรียน และของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ของตำบลลิพังมีความรู้ ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลและโภชนาการในการปรุงอาหาร และมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการตรวจสอบ และทดสอบสารเคมีตกค้างในสารอาหารเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพของผู้บริโภคในตำบลลิพังให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยได้มาตรฐานไม่มีสารเคมีตกค้าง และ เจือปน ได้สินค้าที่ถูกต้อง (4) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการตรวจสอบ และทดสอบสารเคมีตกค้างในสารอาหารเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเรื่องความปลอดภัยของอาหารสำหรับผู้บริโภคและ การใช้ชุดทดสอบคุณภาพอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้ประกอบการ ร้านขายของชำ ในเขตตำบลลิพัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1486-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสิริลดา เสียมไหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด