กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 2561 ”
ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้




ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 2561

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมานาน ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคม วัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด การผดุงครรภ์ตลอดจนการรักษาทางจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆซึ่งสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพ และความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลัก โดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ ขาดการสืบทอดและผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุซึ่งนับวันจะมีจำนวนลดลง ทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ทั้ง ๆ ที่ความรู้เหล่านี้สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทย ทั้งที่เป็นตัวหมอพื้นบ้าน ตำรา พันธุ์พืชที่ใช้เป็นยา สมุนไพร วิธีการการรักษาโรค ตลอดจนสังคมวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิต ฯลฯมีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทยให้อยู่คู่กับประเทศไทย เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวเพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วม ประกอบด้วยชมรมผู้สูงอายุได้ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและส่งเสริมการปลูกและการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน จึงจัดทำโครงการสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรค
  2. 2.เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
  3. 3.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุฟื้นฟูภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยคงอยู่สืบไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ
  2. 2.จัดกิจกรรมให้ความรู้และสาธิตการทำลูกประคบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรค 2.ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ 3.ส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุฟื้นฟูภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยให้คงอยู่สืบไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้ใช้งบ ค่าแผ่นพับความรู้ เป็นเงิน 100บาท ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท ตั้งจุดประชาสัมพันธ์ที่ รพ.สต.นาโยงใต้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต จัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ จำนวน 100 แผ่น และป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้ เรื่อง การใช้สมุนไพร

 

50 0

2. 2.จัดกิจกรรมให้ความรู้และสาธิตการทำลูกประคบ

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ สมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น โดย นางสาวตรีชฎา  หอมจันทร์
ตำแหน่ง นักวิชาการแพทย์แผนไทย และสาธิตการทำลูกประคบ โดย นางชลลัดดา ทองเพียง ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุข (แพทย์แผนไทย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน ได้รับความรู้ เรื่อง สมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น และวิธีการทำลูกประคบ ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานโครงการสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ปี 2561 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้ ตามวัตถุประสงค์พบว่า
1.ด้านส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรคได้มีประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้ใช้งบ ค่าแผ่นพับความรู้ เป็นเงิน 100บาท ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท พบว่าผู้สูงอายุ มีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรมากขึ้นสำหรับใช้ในการรักษาโรค 2.ด้านส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ พบว่าผู้สูงอายุ มีการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องตามสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละตัว
๓.ด้านส่งเสริมให้ชมผู้สูงอายุฟื้นฟูภูมิปัญญาและองค์ความรู้ได้ใช้งบค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท การสื่อสารประชาชนสร้างโดยใช้ป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน ได้เชิญวิทยากร
นางชลลัดดา ทองเพียง ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข(แพทย์แผนไทย)สอนสาธิตการทำลูกประคบ จำนวน 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท โดยมีค่าวัสดุอุปกรณ์ ตัวยาสมุนไพรรวมที่ใช้ทำลูกประคบสมุนไพร เป็นเงิน 5,000 บาท ผ้าดิบ 30x30 ซ.ม.สำหรับห่อทำลูกประคบสมุนไพร จำนวน 50 ผืน เป็นเงิน 1,000 บาท เชือกขาว เส้น ยาว 1 เมตร จำนวน 50 เส้น เป็นเงิน 500 บาท หม้อนึ่งลูกประคบสมุนไพร จำนวน 2 ใบ เป็นเงิน 1,500 บาท ผ้าขนหนู จำนวน 5 โหล เป็นเงิน 750 บาท พบว่าผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระตุ้นเตือนเปลี่ยนแนวคิดเพื่อฟื้นฟูและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรค
0.00 100.00

ของผู้สูงอายุมีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพร

2 2.เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
0.00 100.00

มีการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ

3 3.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุฟื้นฟูภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยคงอยู่สืบไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของชมรมผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อฟื้นฟูและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย
0.00 100.00

มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีการปลูกและอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสำหรับใช้ในการรักษาโรค (2) 2.เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ (3) 3.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุฟื้นฟูภูมิปัญญาและองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยคงอยู่สืบไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ (2) 2.จัดกิจกรรมให้ความรู้และสาธิตการทำลูกประคบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด