กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการโยคะเพื่อผู้สูงวัย ”
ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสงบ คงแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการโยคะเพื่อผู้สูงวัย

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโยคะเพื่อผู้สูงวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโยคะเพื่อผู้สูงวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโยคะเพื่อผู้สูงวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุ คือกลุ่มบุคคลที่อายุ 60 ปีขึ้นไป มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย และจิตใจแตกต่างไปจากผู้ที่มีอายุต่ำกว่าหลายประการ โดยมีความเสื่อมลงของระบบต่าง ๆ ของร่างกายเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น การประกอบกิจกรรมต่าง ๆ    ของผู้สูงอายุจึงแตกต่างไปจากลุ่มอายุที่ต่ำกว่า โดยเฉพาะการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทั้งยังเป็นการป้องกันโรคเรื้อรังต่างๆ เช่นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด    ซึ่งโรคเรื้อรังเหล่านี้ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในประชากรไทย การจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุจึงต้องคำนึงถึงความเหมาะสม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกลุ่มดังกล่าว           โยคะ (Yoga) หมายถึง การรวมกาย จิต และวิญญาณ ให้เป็นหนึ่งเดียว การฝึกโยคะเป็นกระบวนการสำหรับฝึกกาย ฝึกการหายใจ และฝึกจิตให้มีความจดจ่อกับเรื่องลมหายใจเข้าออก อันจะนำไปสู่การมีสมาธิที่ดีขึ้น ในแง่ปฏิบัติต้องรวมสามอย่างเข้าด้วยกัน คือ การเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ การประสานลมหายใจเข้าออกกับการเคลื่อนไหว และมีจิตสงบนิ่งในขณะที่เคลื่อนไหว ที่สามารถนำมาใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้ นอกจากส่งเสริมให้ร่างกายมีการเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ แล้ว  ยังช่วยสร้างสมาธิ และความสมัครสมานสามัคคีในกลุ่มผู้สูงอายุได้อีกด้วย โดยการประยุกต์ใช้ท่าโยคะที่ไม่โลดโผนจนเกินไป สามารถรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมดังกล่าวในชุมชนได้ทุกเวลา เป็นกลวิธีการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนอีกวิธีหนึ่ง จากความสำคัญดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 7 ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ โยคะเพื่อผู้สูงวัยขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะที่ถูกต้องในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
  2. 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายด้วยรูปแบบที่เหมาะสม
  3. 3.เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชาสัมพันธ์การออกกำลังกายโยคะในผู้สูงวัย
  2. 2.จัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะที่ถูกต้องในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 2.ผู้สูงอายุในชุมชให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายมากขึ้น 3.ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพจิตดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชาสัมพันธ์การออกกำลังกายโยคะในผู้สูงวัย

วันที่ 20 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์เชิญชวน ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ผุ้สูงอายุทีเ่ข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะที่ถูกต้องในการออกกำลังกาย เพื่อให้ผุ้สูงอายุ มีการออกกำลับงกายเพื่อสุขภาพด้วยรุปแบบทีเ่หมาะสม เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิในผุ้สูงอายุ

ผู้่สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรุ้และทักษะที่ถูกต้องในการออกกำลังกาย ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายทีเ่หมาะสมตามวัย ด้วยรูปแบบโยคะ ผุ้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น

 

40 0

2. 2.จัดอบรม

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมทักษะการออกกำลังกายโยคะแก่ผุ้สูงอายุ จำนวน 40 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมเพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะการออกกำลังกายด้วยรุปแบบโยคะแก่ผุ้สูงอายุ จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรูปแบบโยคะในชุมชน

ได้ดำเนินการตามกิจกรรมทุกรายการ มีการจัดอบรม พื้นฐานการออกกำลังกาย มีการจัดอบรม พื้นฐานการออกกำลังกายสำหรับผุ้สูงอายุ และฝึกทักษะการออกกำลังกายด้วยโยคะ ในท่าต่างๆ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีการประชาสัมพันธ์ การออกกำลังกายด้วยรูปแบบโยคะในชุมชน การจัดอบรมให้แก่สมาชิกผู้สูงอายุที่สนใจให้มีความรู้และทักษะการออกกำลังกายด้วยโยคะที่ถูกต้องจากวิทยากรผู้ชำนาญ หลังจากนั้น ผู้สูงอายุก็มีการรวมกลุ่มกันออกกำลังกายด้วยโยคะ แต่ยังไม่ชำนาญในเรื่องท่าทางแต่นับว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะที่ถูกต้องในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
40.00 40.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายด้วยรูปแบบที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :
40.00 40.00

 

3 3.เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
40.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะที่ถูกต้องในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ (2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายด้วยรูปแบบที่เหมาะสม (3) 3.เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชาสัมพันธ์การออกกำลังกายโยคะในผู้สูงวัย (2) 2.จัดอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโยคะเพื่อผู้สูงวัย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสงบ คงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด