กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวันทนา มะนะโส

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L-1497-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 10 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L-1497-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 10 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีข้อมูลประชากรผู้สูงอายุ ที่ชี้ให้เห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยโครงสร้างทางอายุของประชากรนั้น
เมื่อจำแนกประชากรออกเป็นกลุ่มอายุ 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ประชากรวัยเด็ก (อายุน้อยกว่า 15 ปี) วัยแรงงาน (อายุ 15-59 ปี)
และวัยสูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) พบว่า ในระหว่างปี พ.ศ.2553 – พ.ศ.2583 สัดส่วนของประชากรวัยเด็ก และวัย
แรงงาน มีแนวโน้มลดลง ในขณะที่สัดส่วนของประชากรสูงอายุ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องถือได้ว่าสังคมไทยเข้าสู่
สู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุอย่างแท้จริง  การเพิ่มของผู้สูงอายุนั้นจะส่งผลกระทบต่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ การจัดสรร
ทรัพยากรทางสุขภาพ เพราะมีผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่เจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรังที่สำคัญคือ โรคเบาหวาน โรคความดัน
โลหิตสูงฯลฯ ยิ่งมีปัจจัยเสี่ยง เช่น ขาดการออกกำลังกาย อ้วน จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคเรื้อรังอื่นเพิ่มมากขึ้น ทำให้
ทำให้เป็นภาระในการดูแลด้านต่างๆ มากขึ้น การเพิ่มของผู้สูงอายุนั้นจะส่งผลกระทบต่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ การจัดสรร
ทรัพยากรทางสุขภาพ เพราะมีผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่เจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรังที่สำคัญคือ ด้วยโรคเรื้อรังที่สำคัญคือโรค
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงฯลฯ ยิ่งมีปัจจัยเสี่ยง เช่น ขาดการออก  กำลังกาย อ้วน จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็น
โรคเรื้อรังอื่น เพิ่มมากขึ้นทำให้เป็นภาระในการดูแลด้านต่างๆ มากขึ้น
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว  เป็นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยังมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยและ
ยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีให้ยาวนานที่สุด อาจแบ่งผู้สูงอายุ ออกเป็น 3 กลุ่ม ตามกลุ่มศักยภาพความสามารถ
ในการประกอบกิจวัตรประจำวัน โดยใช้แบบประเมินดัชนีบาร์เทล เอดีแอล ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ติดสังคม)
พึ่งพาตนเองได้ กลุ่มที่ 2 ติดบ้าน) ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง บางส่วนต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันบ้าง
กลุ่มที่ 3 ติดเตียง) คือ ผู้สูงอายุที่ป่วย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันและการ
ดูแลฟื้นฟู สุขภาพต่อเนื่อง  ชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงใต้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
  2. 2.เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
  3. 3.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
  4. 4.เพื่อส่งเสริมความรู้ให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  5. 5.เพื่อเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพเพื่อเป็นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3.กิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จัดการเรียนการสอน
  2. 1.ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานพัฒนารูปแบบการทำงาน
  3. 2.ฝึกอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
  4. 4.กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ มีสุขภาพทางกาย ทางจิต และทางจิตวิญญานที่ดีสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุขผ่านการประเมินสุขภาพพึงประสงค์ มากกว่าร้อยละ 70 2.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง 3.ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานพัฒนารูปแบบการทำงาน

วันที่ 14 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะกรรมการ จำนวน 70 คน ในวันที่ 14 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้ โดยวิทยากรเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จิตอาสาได้ให้ความรู้การดูแลผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพด้านสุขภาพ

 

25 0

2. 2.ฝึกอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเครือข่ายชุมชนวางแผนการเรียนการสอนโรงเรี่ยนผู้สูงอายุ ค่าอาหารว่าง 1 มื่อๆละ 30 บาท จำนวน 30 คน เป็นเงิน 900 บาท อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและญาติด้านสุขภาพ ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อ ๆละ 30 คน จำนวน 140 คน เป็นเงิน 4200 บาท ค่าทำไวนิลพร้อมขอาต้ง จำนวน 6 ป้ายละ 1,200 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท ค่าทำฟอร์มบอร์ด มุมความรู้ จำนวน 4 ป้ายๆ ละ 900 บาทเป็นเงิน 3,600 บาท ค่าทำโฟมบอร์ดกิจกรรมสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 1 ป้ายๆละ 900 บาท ค่าป้ายนโยบาย จำนวน 1 ป้าย ๆละ 1,000 บาท รวมเป้นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุด้านสุขภาพ เพื่อให้อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและฟื้นฟูอาสาสมัครคนเดิมให้มีความรู้ในการฝึกปฏิบัติในชุมชนอย่างมีศักยภาพ

 

170 0

3. 3.กิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จัดการเรียนการสอน

วันที่ 20 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 1.ประชุมประชาคมเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือจากพื้นที่ 2.คัดเลือกและแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ 3.จัดทำแผนขั้นตอนการดำเนินงาน 4.จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 5.ขับเคลื่อนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ มีสุขภาพทางกาย ทางจิต และทางจิตวิญญาณที่ดีสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุขผ่านการประเมินสุขภาพพึงประสงค์ มากกว่าร้อยละ 70 2.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง 3.ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผุ้สูงอายุและครอบครัว

 

35 0

4. 4.กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ

วันที่ 25 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ ค่าวิทยากร 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื่้อๆละ 30 คน จำนวน 70 คน เป็นเงิน 2,100 บาท ค่าทำไวนิล จำนวน 1 ป้ายๆละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท ค่าประกาศนียบัตร จำนวน 35 ชุดๆละ 10 บาท  รวมเป็นเงิน 350 บาท ค่าประกาศเกียรติคุณบุคคลต้นแบบ จำนวน 4 ป้าย ๆละ 300 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุได้รับการเรียนการสอนครบถ้วน ตามหลักสูตรที่วางไว้ เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพเพื่อเป็นต้นแบบสุขภาพในชุมชน จิตอาสารคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุจากเป้าหมาย
อบรมให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.จิตอาสาได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ 2.ตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 95.16 3.ประชุมชมรมผู้สูงอายุและคณะทำงานพร้อมรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว 2 ครั้ง 4. เกิดบุคคลต้นแบบ 4 ต้นแบบ 5.กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 48 ชัวโมง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ตัวชี้วัด : จิตอาสาได้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการร้อยละ 70
70.00 70.00

ร้อยละ 100

2 2.เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : จิตอาสาช่วยดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการ
70.00 70.00

ร้อยละ 100

3 3.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

4 4.เพื่อส่งเสริมความรู้ให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
1.00 1.00

ร้อยละั 100

5 5.เพื่อเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพเพื่อเป็นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีบุคคลต้นแบบในชุมชน
4.00 4.00

ร้อยละ 100

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (2) 2.เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม (3) 3.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ (4) 4.เพื่อส่งเสริมความรู้ให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (5) 5.เพื่อเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพเพื่อเป็นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.กิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จัดการเรียนการสอน (2) 1.ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานพัฒนารูปแบบการทำงาน (3) 2.ฝึกอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (4) 4.กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L-1497-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวันทนา มะนะโส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด