กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,119.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมือ เท้า ปาก เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส กลุ่มที่อยู่ในลำไส้ของคน มีหลายสายพันธุ์ โรคมือ เท้า ปาก ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี โดยเฉพาะอายุตํ่ากว่า 5 ปี มีอาการไข้ร่วมกับตุ่มเล็กๆ เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ  ฝ่าเท้า และในปาก ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง หายได้เอง ส่วนน้อยอาจมีอาการทางสมองร่วมด้วย ซึ่งอาจทำให้รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ การติดต่อของโรค ติดต่อได้โดยการกินเชื้อ ผ่านเข้าปากโดยตรง จากมือที่เปื้อนนํ้ามูก นํ้าลาย และอุจจาระของผู้ป่วยหรือ  ผู้ติดเชื้อ (ซึ่งอาจจะยังไม่มีอาการ) หรือนํ้าในตุ่มพองหรือแผลของผู้ป่วย และโดยการหายใจเอาเชื้อที่แพร่กระจาย จากละอองฝอยของการไอ จาม ของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ การแพร่เชื้อมักเกิดได้ง่ายในช่วงสัปดาห์แรกของการป่วย มีระยะฟักตัว 3-5 วัน การเกิดโรคมีลักษณะเกิดแบบกระจัดกระจาย หรือระบาดเป็นครั้งคราว การระบาดมักเกิดขึ้นบ่อยในกลุ่มเด็ก เช่น สถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียนอนุบาล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อยู่กันอย่างแออัด  ถ้ามีการระบาดเป็นระยะเวลานานจะทำให้มีโอกาส ที่จะแพร่ไปสู่เด็กที่มีอายุมากขึ้น จนถึงวัยรุ่น และความรุนแรงของโรคก็จะเพิ่มมากขึ้น โรคนี้พบน้อยในผู้ใหญ่ แต่ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอาจติดเชื้อได้ง่าย โรคนี้เป็นคนละโรค กับโรคเท้าและปาก ซึ่งเกิดกับวัว แกะ แม้จะเกิดจากไวรัส เหมือนกันก็ตาม   จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.506) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2560 สถานการณ์จังหวัดตรัง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2560  มีรายงานผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก จำนวน 644 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 100.66 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต อำเภอเมืองตรัง มีรายงานผู้ป่วยจำนวน 144 ราย อัตราป่วย 91.16 ต่อประชากรแสนคน ส่วนตำบลนาโยงใต้ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน 4 ราย อัตราป่วย 87.73 ต่อประชากรแสนคน  มีแนวโน้มการระบาดของโรค เพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกัน แก้ไขปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (ชมรม อสม.) ตำบลนาโยงใต้ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุม โรคมือ เท้า ปาก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก
  2. 2.เพื่อให้สถานศึกษาและผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคมือเท้าปาก
  3. 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดทำสื่อไวนิล ประชาสัมพันธ์โรคมือเท้าปาก
  2. 3.จัดซื้อผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดสำหรับทำความสะอาดพื้นอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวกับเด็ก
  3. 2.อบรมถ่ายทอดความรู้และทักษะในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 268
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก 2.สถานศึกษาและชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคเมือเท้าปาก 3.อัตราป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3.จัดซื้อผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดสำหรับทำความสะอาดพื้นอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวกับเด็ก

วันที่ 20 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อผลิตภัณฑ์ฺทำความสะอาดสำหรับทำความสะอาดพื้น อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับเด็ก จัดซื้อสบู่เหลวล้างมือ สำหรับสถานศึกษาและนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการตามกิจกรรมทุกรายการมีการจัดซื้อเวชภัณฑ์ควบคุม ป้องกันโรค ได้แก่ เจลล้างมือ ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดเพื่อฆ่าเชื่อโรคที่พื้น มีการประชาสัมพันธ์เรื่องโรคมือ เท้า ปาก ในชุมชน โดย อสม. และสื่อไวนิล มีการคัดกรองเด็กที่มีอาการผิดปกติทุกราย ทั้งที่บ้านและสถานศึกษา จัดกิจกรรมทำความสะอาด ห้องเรียน อุปกรณ์การเรียน การสอน และของเล่น เพื่อควบคุม การป้องกันโรคในสถานศึกษา

 

0 0

2. 2.อบรมถ่ายทอดความรู้และทักษะในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก

วันที่ 20 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมถ่ายทอดความรู้และทักษะในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก แก่ผุ้ปกครอง ปฐมวัย และครูดูแลเด็ก ฝึกปฏิบัติการล้างมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับเด็ก การตรวจคัดกรองโรค มือ เท้า ปากในเด็ก ทุกกลุ่มวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ผุ้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก เพื่อให้สถานศกึษา และผุ้ปกครองเด็ก ปฐมวัย มีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกัน โรคมือเท้าปาก เพื่อลดอัตราการป่วยด่วยโรคมือเท้าปาก

ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก
สถานศึกษา และผุ้ปกครองมีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกันโรคมือเท้าปาก อัตราการป่วยโรคมือเท้าปาก ลดลง

 

268 0

3. 1. จัดทำสื่อไวนิล ประชาสัมพันธ์โรคมือเท้าปาก

วันที่ 20 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ ป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 8 ผืน ติดทุกหมู่บ้าน จำนวน 8 หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก ลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือเท้า ปาก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก
ตัวชี้วัด :
50.00 50.00

 

2 2.เพื่อให้สถานศึกษาและผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคมือเท้าปาก
ตัวชี้วัด :
50.00 50.00

 

3 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก
ตัวชี้วัด :
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 268
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 268
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก (2) 2.เพื่อให้สถานศึกษาและผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคมือเท้าปาก (3) 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดทำสื่อไวนิล ประชาสัมพันธ์โรคมือเท้าปาก (2) 3.จัดซื้อผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดสำหรับทำความสะอาดพื้นอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวกับเด็ก (3) 2.อบรมถ่ายทอดความรู้และทักษะในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด