กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการเร่งรัดหยุดยั่งวัณโรค ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการเร่งรัดหยุดยั่งวัณโรค

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเร่งรัดหยุดยั่งวัณโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเร่งรัดหยุดยั่งวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเร่งรัดหยุดยั่งวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,370.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรค (Tuberculosis : TB) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis    ซึ่งเป็นโรคที่พบได้บ่อยทั้งในคนเมืองและคนชนบท โดยเฉพาะตามแหล่งที่ผู้คนอาศัยอยู่กันอย่างแออัด พบในเด็ก คนชรา ผู้ที่ติดเชื้อ HIV คนที่ติดสารเสพติด ผู้ที่ร่างกายอ่อนแอ จากการป่วยด้วยโรคอื่นๆ มาก่อน ผู้ที่ตรากตรำทำงานหนัก พักผ่อนไม่เพียงพอ และขาดอาหาร ปัจจุบันพบว่าผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV เป็นวัณโรคแทรกซ้อนจำนวนมาก และทำให้ วัณโรคที่เคยลดลง กลับมาแพร่กระจายมากขึ้น ในประเทศไทย พบว่าร้อยละ 25-30 ของประชากรของประเทศ ติดเชื้อวัณโรคแล้ว จากรายงาน 506    ของสำนักระบาดวิทยา พบว่า ในอดีตที่ผ่านมา เมื่อมียารักษาวัณโรคที่มีประสิทธิภาพ ประเทศไทยสามารถควบคุมวัณโรคได้ดี จำนวนผู้ป่วยวัณโรคเสมหะบวกมีรายงานลดลง แต่เมื่อมีการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ในปี พ.ศ. 2547 พบว่า มีผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มขึ้น โดยเป็นวัณโรคชนิดพบเชื้อในเสมหะ ประมาณ 50 ต่อแสนประชากร และนอกจากนี้ กลุ่มผู้ป่วยเอดส์ ที่มีโรคติดเชื้อฉวยโอกาส พบว่า วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่พบมากที่สุด สำหรับตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง พบผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนรักษากับสถานพยาบาลของรัฐ ในปี 2560 มีจำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตรา 43.87 ต่อประชากรแสนคน ปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมา นอกเหนือจากผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาพยาบาล เนื่องจากต้องรับประทานยาเป็นจำนวนมาก ติดต่อกันเป็นเวลานาน และ การได้รบผลกระทบ  จากอาการข้างเคียงของยาแล้ว การคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงยังดำเนินการได้ไม่ทั่วถึง และกลุ่มเสี่ยงส่วนใหญ่ที่ได้รับการ  คัดกรองคือ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ในขณะเดียวกันยังมีผู้ติดเชื้อ และผู้ป่วยอีกจำนวนหนึ่งอยู่ในชุมชน การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่างๆ  ให้ครอบคลุม จะช่วยให้การแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชน ลดน้อยลงได้ เป็นการพัฒนางาน ควบคุมป้องกันโรควัณโรคอีกทางหนึ่ง จากความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลนาโยงใต้ จึงได้จัดทำโครงการ เร่งรัดหยุดยั้งวัณโรค ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนได้
  2. 2.เพื่อคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ
  3. 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่มีการน่าสงสัยวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง
  4. 4.เพื่อพัฒนาระบบการรักษาวัณโรคแบบกำกับการกินยา โดยมีพี่เลี่ยง (DOTs)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมฟื้นฟูศักยภาพ อสม. ด้านการควบคุม ป้องกันวัณโรคในชุมชน
  2. 2.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ ในการแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน 2.กลุ่มเสี่ยงวัณโรคไ้ดรับการคัดกรอง 3.กลุ่มเสี่ยงที่มีอาการน่าสงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องทุกราย 4.ระบบการรักษาวัณโรคแบบกำกับการกิจยา โดยมีพี่เลี้ยง DOTs ได้รับการพัฒนา 5.อัตราความสำเร็จในการํกาาวัณโรคหายขาด อยู่ในอัตราย ร้อยละ 100


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.อบรมฟื้นฟูศักยภาพ อสม. ด้านการควบคุม ป้องกันวัณโรคในชุมชน

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการดำเนินงานควบคุมป้องกันวัณโรค การคัดกรองผู้มีอาการน่าสงสัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การคัดกรองผู้มีอาการน่าสงสัย ดำเนินการส่งต่อเพื่อรับการเอ็กซเรย์ปอด และพบแพทย์สำหรับรายที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยวัณโรคแล้ว ได้มีการติดตามเยี่ยม กำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ เรื่องการดูแลตนเองของผู้ป่วย

 

70 0

2. 2.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคในชุมชนโดยใช้แบบสัมภาษณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการตามกิจกิจกรรมทุกรายการมีการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน มีการถ่ายทอดความรุ้สู่ชุมชน และการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน และการคัดกรอง ค้นหาผุ้ป่วยวัณโรคในชุมชน โดยใช้แบบสัมภาษณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ในการดำเนินงานควบคุมป้องกันวัณโรค การคัดกรองผู้มีอาการน่าสงสัยป่วยด้วยวัณโรค และดำเนินการส่งต่อเพื่อรับการเอ็กซาเรย์ปอดยและพบแพทย์ สำหรับรายที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยด้มีการติดตามมาเยี่ยม กำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง และให้คำแนะนำการอยู่ร่วมกันกับผุ้ป่วยวัคโรคแก่บุคคลในครอบครัว พร้อมส่งผู้สัมผัสร่วมบ้านเอ็กซาเรย์ปอดทุกราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนได้
ตัวชี้วัด :
0.00 70.00

 

2 2.เพื่อคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ
ตัวชี้วัด :
0.00 100.00

 

3 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่มีการน่าสงสัยวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00 100.00

 

4 4.เพื่อพัฒนาระบบการรักษาวัณโรคแบบกำกับการกินยา โดยมีพี่เลี่ยง (DOTs)
ตัวชี้วัด :
0.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนได้ (2) 2.เพื่อคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่มีการน่าสงสัยวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจยืนยันและรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง (4) 4.เพื่อพัฒนาระบบการรักษาวัณโรคแบบกำกับการกินยา โดยมีพี่เลี่ยง (DOTs)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมฟื้นฟูศักยภาพ อสม. ด้านการควบคุม ป้องกันวัณโรคในชุมชน (2) 2.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเร่งรัดหยุดยั่งวัณโรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด