กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการชุมชนปลอดภัยห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปลอดภัยห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปลอดภัยห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปลอดภัยห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปลอดภัยห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ เกิดจากเชื้อไวรัสเรบี่ส์ (Rabies Virus) สัตว์นำโรค ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด ทั้งสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า เช่น สุนัข แมว กระต่าย กระรอก กระแต หนู ลิง ชะนี แพะ แกะ วัว ควาย ค้างคาวเป็นต้น สัตว์นำโรคที่สำคัญที่สุดคือ สุนัข มนุษย์ติดเชื้อนี้จากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อพิษสุนัขบ้ากัด ข่วน หรือน้ำลายเข้าสู่บาดแผล ปัจจุบัน  ยังไม่มียารักษาโรคพิษสุนัขบ้า ดังนั้น ไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์ที่ติดเชื้อนี้มักจะเสียชีวิตทั้งหมด ผู้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้า    ส่วนใหญ่ถูกสุนัข หรือแมวกัด ข่วน แล้วไม่ได้ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันอย่างรวดเร็วและครบถ้วน กลุ่มเด็กเป็นกลุ่มที่ถูกสุนัขกัดมากที่สุด ปัญหาสำคัญของโรคนี้ เกิดจากยังไม่สามารถฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ในสุนัขให้ครอบคลุมทุกตัวได้ ที่สำคัญคือ  กลุ่มเสี่ยงทุกรายถูกสุนัขกัดและไม่ได้ฉีดวัคซีนหลังถูกกัด จึงนับว่าโรคนี้ยังเป็นปัญหาอยู่ เนื่องจากอัตราการฉีดวัคซีนป้องกัน  ในสุนัขบางพื้นที่ไม่ครอบคลุม และในแต่ละปีคนไทยที่ถูกสุนัขกัดไม่ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า            การป้องกันที่ดีที่สุด คือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัด หรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เลี้ยงดังกล่าว ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าตามกำหนด ถ้าถูกสัตว์กัดต้องรีบทำความสะอาดบาดแผลอย่างถูกต้อง และไปพบแพทย์เพื่อทำการฉีดวัคซีนทันที
สำหรับในปี พ.ศ. 2561 นี้ กรมปศุสัตว์ ประกาศเขตโรคระบาดพิษสุนัขบ้าไปแล้ว 14 จังหวัด ซึ่งถูกจัดเป็น พื้นที่สีแดง เพราะอยู่ในขั้นน่าเป็นห่วง คือ จ.สุรินทร์ ชลบุรี สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา น่าน บุรีรัมย์  อุบลราชธานี  เชียงราย
ร้อยเอ็ด สงขลา ระยอง ตาก ศรีสะเกษ และตรัง นอกจากนี้ยังต้องเฝ้าระวังโรคระบาดพิษสุนัขบ้าในอีก 42 จังหวัด ซึ่งจัดให้อยู่ ในพื้นที่สีเหลือง การดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้า จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือ จาก ประชาชนทุกคน การรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีความตระหนักและร่วมมือกัน จะเป็นแนวทางที่จะนำ ไปสู่การแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนได้
  2. 2.เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนมีความตื่นตัวและตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า
  3. 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคพิษสุขบ้านในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
  2. 2.จัดอบรม
  3. 3.สำรวจผู้ถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม. ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า 2.ผู้สัมผัสโรคทุกรายได้รับการติดตามเพื่อรับวัคซีนครบตามเกณฑ์ 3.ประชาชนในตำบลนาโยงใต้ ปราศจากโรคพิษสุนัขบ้า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำไวนิลประชาสัมพันธ์โรคพิษสุนัขบ้า จัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้ จัดทำโปสเตอร์ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนมีความตื่นตัว และตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า

 

70 0

2. 2.จัดอบรม

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการตามกิจกรรมทุกรายการมีการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน มีการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน และการคันหา และติดตามผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า ทุกราย ให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง

 

0 0

3. 3.สำรวจผู้ถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกัด

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กำกับติดตามสัมพันธ์โรคพิษสุนัขบ้าทุกรายให้รับการรักาษที่ถูกต้อง ได้รับวัคซีนครบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการตามกิจกรรมทุกรายการ มีการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ในการแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน มีการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนและการคันหา และติดตามผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าทุกราย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนได้
ตัวชี้วัด :
70.00 70.00

ประชาสัมพันธ์ให้ อสม.เข้าร่วมประชุม ได้ครบตามเป้าหมาย

2 2.เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนมีความตื่นตัวและตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด :
100.00

ประชาชนสามารถรับรู้ถึงข่าวสารได้ครบ 1231 ครัวเรือน

3 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคพิษสุขบ้านในชุมชน
ตัวชี้วัด :
100.00

สามารถควบคุมการเกิดโรคฯ ได้ ร้อยละ 100

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนได้ (2) 2.เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนมีความตื่นตัวและตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า (3) 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคพิษสุขบ้านในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า (2) 2.จัดอบรม (3) 3.สำรวจผู้ถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปลอดภัยห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด