ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ”
ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลปากแตระ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปากแตระ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ที่อยู่ ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5224-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปากแตระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5224-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,556.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปากแตระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี โดยธรรมชาติของโรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดปีเว้นปีหรือระบาดเว้น2ปี สถานการณ์ระบาดของโรคไข้เลือดออกอาจมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นได้ในทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี จากสถิติของฝ่ายควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข ณ 31 ธันวาคม 2560 พบว่ามีผู้ป่วยโรคติดต่อไข้เลือดออกทั้งหมด 51,583 คิดเป็นอัตราป่วย 78.84 ต่อแสนประชากร มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกจำนวน 60 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.12 ต่อแสนประชากร การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกรายภาค พบว่าภาคใต้มีอัตราป่วยสูงเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ เท่ากับ 12,464 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 134.75 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน 26 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.21 และจังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกสูงสุดของภาคใต้ จำนวน 2,988 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 212.53 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.17 ในส่วนของอำเภอระโนดพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 75 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 126.16ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต
จากสถิติของฝ่ายควบคุมโรคติดต่อคลินิกใกล้ใจ โรงพยาบาลระโนด พบว่า ตำบลปากแตระมีผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออก อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยทุกปี จากข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ พบว่า ตั้งแต่เดือน มกราคม – ธันวาคม 2560 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด 8 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 133.80 ต่อประชากรแสนคน ซึ้งสูงกว่าค่า Median ย้อนหลัง 5 ปี ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต หมู่บ้านที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคือหมู่ที่ 1 บ้านตะพังหม้อ 3 ราย รองลงมาคือ หมู่ที่ 6 บ้านรับแพรก จำนวน 2 ราย , หมู่ที่ 5 บ้านหัวเกาะช้าง จำนวน 1 ราย , หมู่ที่ 3 บ้านปากแตระ จำนวน 1 ราย ,หมู่ 2 บ้านเลียบ จำนวน 1 ราย และ หมู่ที่ 4 บ้านหัวเกาะ ยังไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และจาการสำรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เดือนตั้งแต่เดือน มกราคม – ธันวาคม 2560 หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จำนวน 664 หลังคาเรือน ยังพบมีค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุง HI = 10.16 , CI = 0
จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกข้างต้นทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลปากแตระ จึงคิดแนวทางในการแก้ไขปัญหาจากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วม ให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยกิจกรรม5 สเป็นกลยุทธ์อีกวิธีหนึ่งที่เน้นให้ประชาชนในชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชุมชนกิจกรรมที่ทำแล้วเห็นผลเร็วและชัดเจนจึงมีแนวคิดที่จะมีการดำเนินกิจกรรม 5 สได้แก่สะสางสะดวกสะอาดสุขลักษณะ และสร้างนิสัยเพื่อสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ดีขึ้น ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ โดยอาศัยความร่วมมือประชาชน องค์กร หน่วยงานต่างๆ ดังนั้นทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลปากแตระ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก ขึ้น เพื่อไม่ให้มีการระบาดของไข้เลือดออกต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมืิของประชาชนในชุมชน ทุกภาคส่วน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
- ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
- สามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผู้เข้าร่วมโครงการกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 100
- ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 - 39 เป็นต้นมา
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index (HI) เดือนเดือน ตุลาคม 2560 - กันยายน 2561 มีค่าเท่ากับ 4.78 ซึ่งน้อยกว่า 10 ทำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- ดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index (CI) ตั้งแต่เดือน เดือนตุลาคม 2560 - กันยายน 2561 มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่งระดับที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโรคอยู่ในระดับปลอดภัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมืิของประชาชนในชุมชน ทุกภาคส่วน
ตัวชี้วัด : ไม่พบลูกน้ำยงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้านและบริเวณบ้าน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมืิของประชาชนในชุมชน ทุกภาคส่วน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5224-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลปากแตระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ”
ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลปากแตระ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5224-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปากแตระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5224-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,556.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปากแตระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี โดยธรรมชาติของโรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดปีเว้นปีหรือระบาดเว้น2ปี สถานการณ์ระบาดของโรคไข้เลือดออกอาจมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นได้ในทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี จากสถิติของฝ่ายควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข ณ 31 ธันวาคม 2560 พบว่ามีผู้ป่วยโรคติดต่อไข้เลือดออกทั้งหมด 51,583 คิดเป็นอัตราป่วย 78.84 ต่อแสนประชากร มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกจำนวน 60 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.12 ต่อแสนประชากร การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกรายภาค พบว่าภาคใต้มีอัตราป่วยสูงเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ เท่ากับ 12,464 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 134.75 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน 26 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.21 และจังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกสูงสุดของภาคใต้ จำนวน 2,988 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 212.53 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.17 ในส่วนของอำเภอระโนดพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 75 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 126.16ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จากสถิติของฝ่ายควบคุมโรคติดต่อคลินิกใกล้ใจ โรงพยาบาลระโนด พบว่า ตำบลปากแตระมีผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออก อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยทุกปี จากข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ พบว่า ตั้งแต่เดือน มกราคม – ธันวาคม 2560 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด 8 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 133.80 ต่อประชากรแสนคน ซึ้งสูงกว่าค่า Median ย้อนหลัง 5 ปี ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต หมู่บ้านที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคือหมู่ที่ 1 บ้านตะพังหม้อ 3 ราย รองลงมาคือ หมู่ที่ 6 บ้านรับแพรก จำนวน 2 ราย , หมู่ที่ 5 บ้านหัวเกาะช้าง จำนวน 1 ราย , หมู่ที่ 3 บ้านปากแตระ จำนวน 1 ราย ,หมู่ 2 บ้านเลียบ จำนวน 1 ราย และ หมู่ที่ 4 บ้านหัวเกาะ ยังไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และจาการสำรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เดือนตั้งแต่เดือน มกราคม – ธันวาคม 2560 หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จำนวน 664 หลังคาเรือน ยังพบมีค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุง HI = 10.16 , CI = 0 จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกข้างต้นทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลปากแตระ จึงคิดแนวทางในการแก้ไขปัญหาจากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วม ให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยกิจกรรม5 สเป็นกลยุทธ์อีกวิธีหนึ่งที่เน้นให้ประชาชนในชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชุมชนกิจกรรมที่ทำแล้วเห็นผลเร็วและชัดเจนจึงมีแนวคิดที่จะมีการดำเนินกิจกรรม 5 สได้แก่สะสางสะดวกสะอาดสุขลักษณะ และสร้างนิสัยเพื่อสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ดีขึ้น ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ โดยอาศัยความร่วมมือประชาชน องค์กร หน่วยงานต่างๆ ดังนั้นทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลปากแตระ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก ขึ้น เพื่อไม่ให้มีการระบาดของไข้เลือดออกต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมืิของประชาชนในชุมชน ทุกภาคส่วน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
- ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
- สามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผู้เข้าร่วมโครงการกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 100
- ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 - 39 เป็นต้นมา
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index (HI) เดือนเดือน ตุลาคม 2560 - กันยายน 2561 มีค่าเท่ากับ 4.78 ซึ่งน้อยกว่า 10 ทำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
- ดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index (CI) ตั้งแต่เดือน เดือนตุลาคม 2560 - กันยายน 2561 มีค่าเท่ากับ 0 ซึ่งระดับที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโรคอยู่ในระดับปลอดภัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมืิของประชาชนในชุมชน ทุกภาคส่วน ตัวชี้วัด : ไม่พบลูกน้ำยงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้านและบริเวณบ้าน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมืิของประชาชนในชุมชน ทุกภาคส่วน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 6 ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5224-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลปากแตระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......