โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี ”
ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิตินันท์สังข์ขาว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
ที่อยู่ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L8017-1-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L8017-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญในเรื่อง อาหารสะอาด รสชาตอร่อย (Clean Food Good Taste) มาโดยตลอดเพราะอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วยคือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน เพราะประชาชนมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดจากผู้ประกอบกิจการที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร ผู้สัมผัสอาหารที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ปฏิบัติตนให้ถูกต้องในระหว่างการเตรียม ปรุง ประกอบอาหาร ซึ่งจะทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคลงสู่อาหารได้
ในปัจจุบันการบริโภคอาหารของประชาชนส่วนใหญ่จะพึ่งอาหารนอกบ้านซึ่งมีความเสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่ครบตามความต้องการของร่างกายหรือได้รับสารอาหารอย่างหนึ่งอย่างใดมากเกินไป เช่น มีการปนเปื้อนจากภาชนะบรรจุอาหารเอง อันตรายที่เกิดจากสารเคมีของภาชนะบรรจุอาหารมักไม่ได้รับความสนใจ เนื่องจากไม่ได้เกิดผลกระทบในทันที่ทันใด แต่จะค่อย ๆ สะสมในร่างกายจนเกิดอันตรายนอกจากนี้ภาชนะบรรจุต้องมีคุณสมบัติ คือ ต้องเป็นภาชนะมีคุณภาพ สะอาด ไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ไม่มีสี หรือโลหะหนักออกมาปนเปื้อนกับอาหารในปริมาณที่เปันอันตรายต่อสุขภาพได้ เป็นเวลานานแล้วที่พลาสติกและโฟมถูกใช้แทนใบตอง กระดาษ โลหะหรือแก้วในการบรรจุอาหารอาจเนื่องมาจากพลาสติกและโฟมสามารถทำให้เกิดรูปทรงตามที่ต้องการได้ง่าย มีน้ำหนักเบา ราคาถูก และหาซื้อง่ายจึงเป็นที่นิยมเรื่อยมา กล่องโฟมที่มักถูกนำมาบรรจุอาหารที่ร้อนจะมีคุณสมบัติที่สามารถละลายสารบางชนิดออกมาจากกล่องโฟม และปนเปื้อนสู่อางหารได้ ปัจจุบันผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารนิยมใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากความสะดวก รวดเร็ว โดยในพื้นที่ รับผิดชอบของเทศบาลตำบลห้วยยอด เองก็มีผู้ประกอบการจำนวนมากที่ยังนิยมใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร โดยขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายที่จส่งผลต่อผู้บริโภคกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลห้วยยอด จึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารได้มีความรู้ ตระหนักถึงความปลอดภัยของการบริโภคอาหารจากร้านจำหน่ายอาหารต่าง ๆ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีปราศจากโรคที่มีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหาร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย และผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในโรงเรียนมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาปรับปรุงอาหาร แผงลอยของตนเองเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานClean Food Good Taste
2.ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย และผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในโรงเรียนได้ทราบถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร สามารถนำภาชนะที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมาให้ทดแทนการใ่ช้กล่องโฟม
3.ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร
4.อสม.ในเขตเทศบาลฯ มีความรู้ความเข้าใจในด้านงานสุขาภิบาลอาหารมากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L8017-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนิตินันท์สังข์ขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี ”
ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิตินันท์สังข์ขาว
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L8017-1-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L8017-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญในเรื่อง อาหารสะอาด รสชาตอร่อย (Clean Food Good Taste) มาโดยตลอดเพราะอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วยคือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน เพราะประชาชนมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดจากผู้ประกอบกิจการที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร ผู้สัมผัสอาหารที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ปฏิบัติตนให้ถูกต้องในระหว่างการเตรียม ปรุง ประกอบอาหาร ซึ่งจะทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคลงสู่อาหารได้ ในปัจจุบันการบริโภคอาหารของประชาชนส่วนใหญ่จะพึ่งอาหารนอกบ้านซึ่งมีความเสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่ครบตามความต้องการของร่างกายหรือได้รับสารอาหารอย่างหนึ่งอย่างใดมากเกินไป เช่น มีการปนเปื้อนจากภาชนะบรรจุอาหารเอง อันตรายที่เกิดจากสารเคมีของภาชนะบรรจุอาหารมักไม่ได้รับความสนใจ เนื่องจากไม่ได้เกิดผลกระทบในทันที่ทันใด แต่จะค่อย ๆ สะสมในร่างกายจนเกิดอันตรายนอกจากนี้ภาชนะบรรจุต้องมีคุณสมบัติ คือ ต้องเป็นภาชนะมีคุณภาพ สะอาด ไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ไม่มีสี หรือโลหะหนักออกมาปนเปื้อนกับอาหารในปริมาณที่เปันอันตรายต่อสุขภาพได้ เป็นเวลานานแล้วที่พลาสติกและโฟมถูกใช้แทนใบตอง กระดาษ โลหะหรือแก้วในการบรรจุอาหารอาจเนื่องมาจากพลาสติกและโฟมสามารถทำให้เกิดรูปทรงตามที่ต้องการได้ง่าย มีน้ำหนักเบา ราคาถูก และหาซื้อง่ายจึงเป็นที่นิยมเรื่อยมา กล่องโฟมที่มักถูกนำมาบรรจุอาหารที่ร้อนจะมีคุณสมบัติที่สามารถละลายสารบางชนิดออกมาจากกล่องโฟม และปนเปื้อนสู่อางหารได้ ปัจจุบันผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารนิยมใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากความสะดวก รวดเร็ว โดยในพื้นที่ รับผิดชอบของเทศบาลตำบลห้วยยอด เองก็มีผู้ประกอบการจำนวนมากที่ยังนิยมใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร โดยขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายที่จส่งผลต่อผู้บริโภคกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลห้วยยอด จึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารได้มีความรู้ ตระหนักถึงความปลอดภัยของการบริโภคอาหารจากร้านจำหน่ายอาหารต่าง ๆ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีปราศจากโรคที่มีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหาร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย และผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในโรงเรียนมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาปรับปรุงอาหาร แผงลอยของตนเองเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานClean Food Good Taste 2.ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย และผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในโรงเรียนได้ทราบถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร สามารถนำภาชนะที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมาให้ทดแทนการใ่ช้กล่องโฟม 3.ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร 4.อสม.ในเขตเทศบาลฯ มีความรู้ความเข้าใจในด้านงานสุขาภิบาลอาหารมากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอาหารปลอดภัย ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L8017-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนิตินันท์สังข์ขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......