กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการส่งเสริมการคัดแยะขยะชุมชนกำปงกู ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมาลีกีหะยีเจะมุ)

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการคัดแยะขยะชุมชนกำปงกู

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการคัดแยะขยะชุมชนกำปงกู จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการคัดแยะขยะชุมชนกำปงกู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการคัดแยะขยะชุมชนกำปงกู " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอย แถลงการณ์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยกรมควบคุมมลพิษ เผยสถานการณ์มลพิษประเทศไทย ปี 2560 ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศประมาณ 27.40 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.26 จากปี2559 ที่เกิดขึ้น 27.06 ล้านตัน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรและการขยายตัวของชุมชนเมืองแต่อัตราการเกิดขยะมูลฝอยลดลงจาก 1.14 กิโลกรัม/คน/วัน  ในปี2559 เป็น 1.13 กิโลกรัม/คน/วัน
การจัดการขยะมูลฝอยใน 2560 เปรียบเทียบกับ ปี 2559 ปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้นร้อยละ 22 จาก 9.57 ล้านตัน เป็น 11.70 ล้านตัน มีปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น    ร้อยละ 47 จาก 5.80 ล้านตัน เป็น 8.52 ล้านตัน ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดอย่างไม่ถูกต้องลดลง  ร้อยละ 39 จาก 11.69 ล้านตัน เป็น 7.18 ล้านตัน ขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยทั่วไปสามารถแยกได้เป็น 4 ประเภท    คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ เรียกว่า “ขยะรีไซเคิล” ปัญหาจากขยะมูลฝอยเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เนื่องจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมเป็น ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างในชุมชน อาทิ พฤติกรรมการบริโภค,การใช้สินค้าหรือบรรจุภัณฑ์ที่ยากต่อการย่อยสลายโดยเฉพาะถุงพลาสติกและโฟม,ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะ,และขาดความร่วมมือของหน่วยงานท้องถิ่น ประชาชน และองค์การภาคเอกชน อย่างไรก็ตาม เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้างจึงต้องมีการคัดแยกขยะให้ถูกประเภท เพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นำไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำเข้าสู่ระบบการทำลายที่ปลอดภัย  ส่วนขยะที่รีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาล
คณะกรรมการชุมชนบือติงกำปงกูจึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาวะของประชาชนในชุมชนจึงจำเป็นอย่างยิ่ง  ที่ประชาชนจะร่วมมือกันแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ด้วยการการคัดแยกขยะก่อนทิ้งในครัวเรือน    จะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือนและลดปัญหาขยะที่ตกค้างตามชุมชน ทำให้สิ่งแวดล้อมสะอาดได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติลดการใช้พลังงานและลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนจะร่วมมือกันแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ด้วยการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้เข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่า  และยั่งยืนต่อไป


ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนกำปงกู

ในชุมชนบือติงกำปงกูมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 567 ครัวเรือนมีหลังคาเรือน ทั้งหมด 352 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 2,663 คน มีอาณาเขต ตั้งแต่ ถนนสฤษดิ์ ถนนปากน้ำ ถนนสามัคคี สาย ข (โรงเหล้าสาย ข) ลักษณะทั่วไปของชุมชน เป็นชุมชนที่ติดกับแม่น้ำปัตตานี บ้านที่อยู่อาศัยล้อมรอบและติดกับชุมชนใกล้เคียง ในชุมชนมีถังขยะเทศบาล จำนวน15 ใบ ตั้งอยู่บริเวณป้ายชุมชนและบริเวณสามแยก มีแรงงานต่างด้าวอยู่อาศัย  เนื่องจากเป็นที่จอดเรือของผู้ประกอบการธุรกิจประมง  มีอุตสาหกรรมโรงงานน้ำแข็งขนาดใหญ่  การดำเนินชีวิตส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง ค้าขาย และใช้แรงงาน มีอุปโภคการบริโภคและกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน    ที่ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนเพิ่มมากขึ้น ไม่มีการคัดแยกขยะ ทิ้งลงในแม่น้ำลำคลอง ทำให้เกิดความสกปรก ไม่เป็นระเบียบ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ เชื้อโรค ทำให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของประชาชนในชุมชน

คณะกรรมการชุมชนบือติงกำปงกูเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาขยะในชุมชน จึงได้ทำการสุ่มสำรวจปริมาณขยะ    ในครัวเรือนประชาชน จำนวน 50 หลังคาเรือน พบว่า ขยะรีไซเคิลร้อยละ 12 ขยะอินทรีย์ ร้อยละ 30 ขยะทั่วไป    ร้อยละ 74 และ ขยะอันตราย ร้อยละ 2 ซึ่งประชาชนไม่รู้จักการบริหารจัดการคัดแยกขยะ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อ  นำร่องในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน และป้องกันแหล่งโรคติดต่อที่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
  2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่
  3. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะตามหลัก 3R
  2. ขยะแลกเงิน
  3. กิจกรรม “ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 2.ประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน 3.มีแกนนำในการจัดดารขยะในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของประชาชนในชุมชนมีความรู้เรื่องประเภทขยะ
0.00

 

2 เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ
0.00

 

3 เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนในชุมชนรับทราบการประชาสัมพันธ์ในการคัดแยกขยะ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ (2) เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะ การนำกลับมาใช้ใหม่ (3) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะตามหลัก 3R  (2) ขยะแลกเงิน (3) กิจกรรม  “ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการคัดแยะขยะชุมชนกำปงกู จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมาลีกีหะยีเจะมุ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด