กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง


“ โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน ”

ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางรัชนี แก้วมาก

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน

ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5191-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5191-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในอดีตสังคมไทยที่เคยเป็นครอบครัวขยายก็กลายเปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นการทำงานนอกบ้านของผู้หญิงมีมากขึ้น การดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ การเลี้ยงดูลูกในวัยต่างๆตั้งแต่วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่น บิดามารดามีเวลาในการเลี้ยงดูลูกน้อยลง สถาบันครอบครัวอ่อนแอจนอาจเกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยส่งผลต่อการพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญาของเด็กในระยะยาวจากการเก็บข้อมูลอนามัยแม่และเด็กในเขตพื้นที่ หมู่ที่4 บ้านคลองประดู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลาปีงบประมาณ 2559- 2561 พบอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 10.50, 4.50และร้อยละ 4.69 ตามลำดับ ทารกน้ำหนักต่ำกว่า ๒๕๐๐ กรัม ร้อยละ 5.56,6.38,1และ 1.64 ตามลำดับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 70.00,63.83 และร้อยละ 84.75ตามลำดับเด็ก 0-5 ปี ส่วนสูงดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ48.97,54.18 และร้อยละ 71.60 ตามลำดับ พบปัญหาโรคฟันผุในเด็กอายุ18 เดือน มีฟันผุ ร้อยละ 40.00 ,16.67 และ ร้อยละ 28.57 ตามลำดับเด็ก 3 ปี มีฟันผุร้อยละ 82.05 ,80.95 และร้อยละ63.16 ตามลำดับและ ใน ปี 2560 พัฒนาการเด็กอายุ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน และ 42 เดือน ตรวจโดยใช้เครื่องมือ DSPM พบเด็กมีพัฒนาการล่าช้าร้อยละ 11.48 ดังนั้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงต้องเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนกระทั่งคลอด และดูแลตามวัยจนกระทั่งอายุ 5 ปี ตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์2 จึงจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในกลุ่มแม่และเด็ก ในพื้นที่เขตรับผิดชอบโดยการสร้างความร่วมมือและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก เพื่อให้มารดา และเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีภาวะสุขภาพที่ดี ในทุกๆรุ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์และสามีได้เข้าร่วมโรงเรียนพ่อแม่ทั้ง 2 ครั้ง
  2. เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กให้เป็นไปตามมาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. การเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธ์ก่อนการตั้งครรภ์
  2. 2. จัดกิจกรรมพัฒนางานฝากครรภ์คุณภาพ (จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ในหญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติ เดือนละ 2 ครั้ง)
  3. 2. จัดกิจกรรมพัฒนางานฝากครรภ์คุณภาพ (จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่(เด็ก๐ - ๕ ปี)เดือนละ 4 ครั้ง)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง 5 ครั้งตามเกณฑ์ และหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดทุกราย
  2. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง
  3. เด็ก 0 – 6 ได้รับด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน
  4. เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยทุกช่วงวัย
  5. เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
  6. หญิงวัยเจริญพันธ์ที่เข้าร่วมโครงการคัดกรองภาวะซีด เมื่อตั้งครรภ์ไม่มีภาวะซีดครั้งที่1

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงตั้งครรภ์และสามีได้เข้าร่วมโรงเรียนพ่อแม่ทั้ง 2 ครั้ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงตั้งครรภ์และสามีได้เข้าร่วมโรงเรียนพ่อแม่ทั้ง 2 ครั้ง (2) เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กให้เป็นไปตามมาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. การเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธ์ก่อนการตั้งครรภ์ (2) 2. จัดกิจกรรมพัฒนางานฝากครรภ์คุณภาพ (จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ในหญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติ เดือนละ 2 ครั้ง) (3) 2. จัดกิจกรรมพัฒนางานฝากครรภ์คุณภาพ (จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่(เด็ก๐ - ๕ ปี)เดือนละ 4 ครั้ง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5191-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรัชนี แก้วมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด