กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน ”
ตำบลโคกยาง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกยาง




ชื่อโครงการ ระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลโคกยาง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2/2561 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"ระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกยาง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกยาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผูู้สูงอายุได้รับบริการดูแลสุขภาพ ด้วยบริการเชิงรุกในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ มีการปรับเปลีี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคโดยการสนับสนุนของครอบครัว ชุมชน และองค์กรในท้องถิ่น (3) 3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการจัดระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาตามนโยบายเร่งรัด (6 อ) ซึ่งประกอบด้วย ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ อโรคยา อบายมุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ของกระทรวงสาธารณสุุข สู่เมืองไทยสุขภาพดี (Health Thailand) โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน/ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ซึ่่ง 1 ในตัวชี้วัดนั้นคือ ผู้สูงอายุมีกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุทุกเดือน > 50% (50% ของสมาชิก) แต่ถ้าไม่มีการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุและกำหนดกิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรม ก็ไม่สามารถจะดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้สำเร็จตามตัวชี้วัดที่วางไว้ ที่ผ่านมาได้มีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุในตำบลโคกยางระดับตำบล 1 ชมรม มีสมาชิกทั้งหมด 194 คน คิดเป็นร้อยละ 34.39 แต่ยังดำเนินการไม่ต่อเนื่องทุกเดือน และยังมีชมรมผู้สูงอายุไม่ครบทุกหมู่บ้าน คงมีแต่การจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ โดยการรวมตัวกันของกลุ่มผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สูงอายุทั้งตำบลได้ทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกัน และเป็นการพัฒนาจิตใจให้ผู้สูงอายุมีความสดชื่นเบิกบาน ซึ่งแนวโน้มของผู้สูงอายุนับวันจะมีจำนวนมากขึ้น อันจะนำมาซึ่งภาวะเสีี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรัง เนืื่องจากวัยผู้สูงอายุมีธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่่อมลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม ทั้งนี้พบว่า ผู้สูงอายุมีสถิติการเกิดโรคมากกว่าวัยอื่นๆ ถึง 4 เท่า นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุเกิด 65 ปี ประมาณ 4 ใน 5 คน จะมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1 โรค ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจในผู้สูงอายุที่สำคัญ คือ ภาวะซึมเศร้าที่เกิดจากการสูญเสียบุคคลใกล้ชิด รวมทั้งการขาดรายได้จากการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ในสังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องเตรียมการในการดูแลผู้สูงอายุในด้านการส่งเสริมบทบาททางสังคมและการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับการบริการของผู้สูงอายุตามสิทธิตามพระราชบัญญัติผู้สุูงอายุ พ.ศ. 246 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกยางตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพและการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ ซึ่งมีจำนวนมากที่ยังไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง การจัดกิจกรรมของชมรมผุู้สูงอายุ โดยการจัดประชุมประจำเดือนของผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นการดำเนินการอย่างหนึ่งเพื่อให้ชมรมผู้สูงอายุได้รวมตัวทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอันเป็นแนวทางที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาความรู้ และอารมณ์และจิตใจให้ผ่องแผ้วเบิกบาน อันจะส่งผลไปยังการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ ส่งุผลโดยตรงไปยังสุขภาพผู้สูงอายุโดยการสร้างเสริมกิจกรรมของชมรมให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผูู้สูงอายุได้รับบริการดูแลสุขภาพ ด้วยบริการเชิงรุกในชุมชน
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ มีการปรับเปลีี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคโดยการสนับสนุนของครอบครัว ชุมชน และองค์กรในท้องถิ่น
  3. 3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการจัดระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 561
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ทางตรง : ผุู้สูงอายุมีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจสามารถดูแลสุขภาพตนเองและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ส่งผลให้ชมรมผู้สุงอายุมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป ตลอดจนมีอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อลดลง ทางอ้อม : ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปรับบริการของผู้สูงอายุและเพิ่มศักยภาพในการทำงานร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่กับองค์กรในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน

วันที่ 5 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1
1. ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายเพื่อจัดระบบการดูแลผู้สูงอายุประจำหมู่บ้าน 2. จัดตั้งหน่วยประสานงานระดับตำบลพร้อมแต่งตั้่งคณะกรรมการทำงาน 3. ประเมินและคัดกรองสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยใช้แบบคัดกรองมาตรฐาน สุขภาพอนามัยผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ แบบประเมินผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ (ADL) , ดัชนีชี้วัดความสุขของคนไทย (TMHT - 15) ประเมินภาวะสุขภาพจิตเบื้องต้น (2Q) 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการดูแลสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ พร้อมคืนข้อมูลสุขภาพ กิจกรรมที่ 2 1. จัดหาเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ชมรมที่ดำเนินงานประสบความสำเร็จมาแล้ว     - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชมรมผู้สูงอายุตำบลโคกยางกับชมรมผู้สูงอายุที่ผ่านการประเมิน Long Term Care ระดับดีเยี่ยม กิจกรรมที่ 3
1. สร้างเครือข่ายและพัฒนาต่อยอดชมรมให้เป็นหนึ่งเดียวอย่างต่อเนื่อง - จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ เดือนละ 1 ครั้ง - จัดมุมตลาดนัดสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ ณ รพ.สต. บ้านโคกยาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีหน่วยประสานงานระดับตำบลพร้อมแต่งตั้่งคณะกรรมการทำงานและผลการประเมินและคัดกรองสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยใช้แบบคัดกรองมาตรฐาน สุขภาพอนามัยผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ แบบประเมินผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ (ADL) , ดัชนีชี้วัดความสุขของคนไทย (TMHT - 15) ประเมินภาวะสุขภาพจิตเบื้องต้น (2Q)

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดกิจกรรมในวันที่ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้ดำเนินการคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุตามแบบประเมินผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ (ADL) และแบบประเมินภาวะสุขภาพจิตเบื้องต้น (2Q) พร้อมคิืนข้อมูลสุขภาพสู่ชุมชนโดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกล่มสูงอายุและคณะกรรมการผู้สูงอายุของแต่ละหมู่บ้าน เดือนละ 1 ครั้งตอชุมชน เพื่อรับฟังปัญหาและร่วมหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาและสร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพชุมชน การกำหนดบทบาทกรรมการชมรมผู้สูงอายุต่อความยั่งยืนของกิจกรรม Long Term Care และกลวิธีีในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยชุมชนเป็นต้นคิด นำคณะกรรมการของแต่ละชุมชน จำนวน 45 คน ร่วมศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมผู้สูงอายุุ รพ.สต. บ้านนานิน ต.ทุ่งกระบือ อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง ซึ่งเป็นชมรมผู้สูงอายุดีเด่นของจังหวัด เพื่อนำรูปแบบการดำเนินงานมาปรับใช้กับการดำเนินงานของตำบลโคกยาง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผูู้สูงอายุได้รับบริการดูแลสุขภาพ ด้วยบริการเชิงรุกในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลสุขภาพ
100.00 100.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ มีการปรับเปลีี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคโดยการสนับสนุนของครอบครัว ชุมชน และองค์กรในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สุูงอายุได้รับการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ
100.00 100.00

 

3 3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการจัดระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว
ตัวชี้วัด : ร้อยละของภาคีเครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 561
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 561
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผูู้สูงอายุได้รับบริการดูแลสุขภาพ ด้วยบริการเชิงรุกในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ มีการปรับเปลีี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคโดยการสนับสนุนของครอบครัว ชุมชน และองค์กรในท้องถิ่น (3) 3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการจัดระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะยาว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน

รหัสโครงการ 2/2561 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ระบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบยั่งยืน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2/2561

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกยาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด